การเขียนความเรียง

Essay Writing

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโครงร่างสำหรับเรียงความ การเขียนบทนำ เขียนลำดับเนื้อเรื่องและเขียนบทสรุป
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนางานเขียนด้วยการใช้เทคนิควิธี ถอดความ  สรุปรวาม เรียบเรียง และอ้างอิงแหล่งข้อมูล
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเียนเรียงความขนาดสั้นในรูปแบบชนิดต่างๆที่ถูกต้อง ประกอบด้วย 3-5 ย่อหน้า และเขียนในหัวข้อที่หลากหลาย
1.  เพื่อให้นักศึกษามีความเชี่ยวชาญการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำไปสู่วิชาการแขนงต่างๆ อันเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับสูง
2.  เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสังคมนานาชาติโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ
3.  เพื่อให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แสดงความคิดเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยโลกทรรศน์ที่กว้างขวาง สอดรับรูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ปัจจุบัน
4.  เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคมและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนความเรียงชนิดต่างๆ โดยเขียนโครงร่างจัดลำดับเนื้อหา คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป พัฒนางานเขียนโดยใช้ทักษะในการถอดความ สรุปความ เรียบเรียง และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล
Study and practice writing various types of essays including creating an outline, strctruring an essay, drafting, editing and revising, paraphrasing, and quoting external sources
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านไลน์กลุ่ม
อาจารย์จัดอวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณทิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม 
1.1 ผลการเรียนร้ด้านทักษะคูุณธรรมจริยธรรม โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (l ) และความรับผิดชอบรอง (¡)
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ
ด้านคุณธรรมจริยธรรม

  1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่สัตย์สุจริตทั้งตนเองและผู้อื่น 5.1.1,5.1.4 ¡ 2.มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม  มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 5.1.1,5.1.2   3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 5.1.3   4. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ -   5. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - ¡ 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม -

 
 
ใส่เครื่องหมาย P   ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
 

                     1. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ยประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม                P 2.สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา   P 3. ปลูกฝังให้นักศึกาามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย   P 4. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น     5. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน     6. สอน โดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน  

 
 
 

รายละเอียด วิธีการประเมินผล


       1. การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม ü 2. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  ü 3.การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม  ü 4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน ü 5. ความเอื้อเฟื้อหรือความมีนำ้ใจต่อเพื่อนครูบาอาจารย์ ü ุ6. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ ü 7. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

 
 
 
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ โดยเน้นให้นักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่ สำคัญในเนื้อหาของรายวิชา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
ยึดหลักการเรียนการสอนแบบ active learning โดย 2.2.1    ให้ความรู้แก่นักศึกษา แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน 2.2.2    มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียน 2.2.3    ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเขียนความเรียงทั้งในและนอกชั้นเรียน
 
2.3.1    ความรู้ด้านทฤษฎี วัดจากกิจกรรม / การสอบกลางภาค / การสอบปลายภาค 2.3.2    ความรู้ด้านการปฏิบัติ วัดจากผลงานการเขียนความเรียงที่มอบหมาย 2.3.3    การถ่ายทอดองค์ความรู้ วัดจากผลงานจากการค้นคว้าของนักศึกษา และการนำมาถ่ายทอดในรูปของความเรียงตามที่ได้รับมอบหมาย
 
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้จากสิ่งที่เรียน โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน 3.1.1    การสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อม และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.1.2    การคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากรายวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ทั่วไป
ยึดหลักการเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดยใช้งานเป็นฐาน (Task-based learning) 3.2.1    ให้นักศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในความเรียง 3.2.2    ให้นักศึกษาฝึกทักษะการสรุปความคิดรวบยอด และนำความคิดมาประยุกต์และถ่ายทอดในรูปแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographics) 3.2.3    ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเขียนความเรียง
 
3.3.1    ผลงานการเขียนความเรียง 3.3.2    ผลงานการถ่ายทอดความรู้โดยนำเสนองานในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographics)
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และ แสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในรายวิชามา ช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
 
 
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป\
มีการมอบหมายงานทที่ต้องใช้ระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 
สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าหาข้อมูลมาใช้ในการเขียนความเรียงอย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล และใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการเขียนความเรียง
ประเมินจากผลงานการเขียนความเรียงและกิจกรรมอื่น ๆ
 
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในรายวิชาที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง  
 
สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน เช่น การคิดวิเคราะห์ การรู้เท่าทันสารสนเทศ การค้นคว้าวิจัย เป็นต้น
ประเมินจากผลงานการเขียนความเรียงและกิจกรรมอื่น ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 6 1 2 1 3 4 4 2
1 BOAEC117 การเขียนความเรียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1..6 การเข้าเรียนารแต่งกาย การส่งงาน การเข้าร่วมกิจกรรม การทางานเป็นกลุ่ม ความเอื้อเฟื้อ และความรับผิดชอบในหน้าที่ ทุกสัปดาห์ 10 %
2 2.1 , 2.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินผลการเรียนรู้ระหวางภาค่ สัปดาห์ที่ 8 และ 16 40 %
3 3.1, 3.3 งานที่มอบหมายผลงานและการปฏิบัติของ นักศึกษา/ทดสอบยอย่ 2-17 40%
4 4.4 พฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา ภาวการณ์เป็ นผู้นและผู้ตามที่ดี สัปดาห์ที่มกิจกรรมกลุ่ม
5 5.4 พฤติกรรมการใช้ภาษาการสื่อสารของนักศึกษา สัปดาห์ที่ มีกิจกรรมมอบหมาย
6 6.2 ผลงานนักศึกษาจากงานที่รับมอบหมาย สัปดาห์ที่มอบหมายงาน
Zemach, D.E. and Rumisek, L.A. (2006). Academic Writing: From Paragraph to Essay.MacMillan.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำเสนอแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1    การสนทนากลุ่มระหวางผู้สอนและผู้เรียน
1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3    ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกบั นักศึกษา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิมเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษาหรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรื อสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ