งานหลังพิมพ์

Post-press

1. รู้และเข้าใจวิวัฒนาการ หลักการ กระบวนการ เครื่องจักรและวัสดุเทคโนโลยี การเข้าเล่มและการตกแต่งสิ่งพิมพ์ รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาและการตรวจสอบคุณภาพงานหลังพิมพ์
2. มีทักษะในงานหลังพิมพ์ประเภทการทำสำเร็จและการแปรรูป
3. มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานหลังพิมพ์และการตกแต่งสิ่งพิมพ์
4. มีทักษะในการวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและตรวจสอบคุณภาพงานหลังพิมพ์
5. เห็นความสำคัญและการประยุกต์ใช้งานหลังพิมพ์ในการเพิ่มมูลค่าสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
          1. วิธีการสอนที่เน้นการให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะปฏิบัติด้วยตนเองอย่างแท้จริง และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักทางวิชาการ
          2. การนำตัวอย่างชิ้นงานสำเร็จมาประกอบการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ
          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิวัฒนาการ หลักการ กระบวนการ และทักษะของงานหลังพิมพ์ ตลอดจนเครื่องจักร ประเภทของวัสดุเทคโนโลยีการเข้าเล่ม และการตกต่างสิ่งพิมพ์ที่ช่วยส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพให้สิ่งพิมพ์มีความสมบูรณ์เหมาะสมตรงตามการใช้งาน การวิเคราะห์ปัญหาและการตรวจสอบคุณภาพงานหลังพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
 
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่

เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
           2. นักศึกษามีความรับผิดชอบโดยการทำงานเป็นกลุ่มและฝึกให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น
          3. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างการเรียนการสอน
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
          2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ หลักการ เทคโนโลยีการเข้าเล่มตกแต่งสิ่งพิมพ์
           2. สามารถติดตามกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
           3. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง
1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียนและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
           2. สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน
           3. การทำงานกลุ่มและเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
           4. การประยุกต์การปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกับสภาพจริง
1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน
           2. ประเมินผลงานสำเร็จจากทักษะการปฏิบัติร่วมกับการวิเคราะห์หลักการทฤษฏีให้ถูกต้อง
           3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน
           4. วิธีการปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
           2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาใช้ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง
1. คิดหาเหตุและผลในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามขั้นตอน
           2. นักศึกษาสามารถฝึกทักษะในการปฏิบัติงานอย่างจริง
           3. สามารถรวบรวม สรุปประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงระหว่างการทำงาน ตลอดจนการนำมาอภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม
1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน
           2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
           3. การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
           2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           3. สามารทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. นักศึกษาสามารถนำเสนอหัวข้อในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและสมาชิกภายในกลุ่มได้
           2. นักศึกษาปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนร่วมกันภายในกลุ่ม
           3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันภายในกลุ่ม
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียนตลอดจนการร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม
           2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
           2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
           2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
1. สามารถเข้าใจทักษะกระบวนการงานหลังพิมพ์ เทคโนโลยีการเข้าเล่มและตกแต่งสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์เหตุและผลของปัญหาทางงานหลังพิมพ์เพื่อตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์
           2. สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องจักรในการเข้าเล่มและตกแต่งสิ่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง
1. บรรยาย สาธิตวิธีการปฏิบัติงาน
           2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษาขณะนักศึกษาปฏิบัติงาน
           3. นักศึกษาสรุปผลและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
           4. ตรวจสอบประสิทธิภาพของงานพร้อมให้ข้อแนะนำกับนักศึกษา
1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
           2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
           3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ 2. นักศึกษามีความรับผิดชอบโดยการทำงานเป็นกลุ่มและฝึกให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น 3. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างการเรียนการสอน 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการ หลักการ เทคโนโลยีการเข้าเล่มตกแต่งสิ่งพิมพ์ 2. สามารถติดตามกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ 3. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาใช้ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 1. สามารถเข้าใจทักษะกระบวนการงานหลังพิมพ์ เทคโนโลยีการเข้าเล่มและตกแต่งสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์เหตุและผลของปัญหาทางงานหลังพิมพ์เพื่อตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ 2. สามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องจักรในการเข้าเล่มและตกแต่งสิ่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง
1 44011011 งานหลังพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน ประเมินผลงานสำเร็จจากทักษะการปฏิบัติร่วมกับการวิเคราะห์หลักการทฤษฏีให้ถูกต้อง ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน วิธีการปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน 9 18 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 15% 5%
3 ทักษะทางปัญญา ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ ตลอดภาคการศึกษา 4,6,11,14,15,16 ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียนตลอดจนการร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 4,6,11,14,15,16 ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม 4,6,11,14,15,16 ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ เสร็จตรงตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 4,6,11,14,15,16 ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. คะนอง  รุ่งจาตุรนต์ วรรณา สนั่นพานิชกุล และอมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วย
การเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
2. จันทร  วรากุลเทพ อัจฉรา  กลีบงาม และคณะ. เทคนิคการประดิษฐ์และสร้างสรรคสมุดทำมือ 3.
    สมุดปกอ่อน. หจก. ซี.อาร์.เอส. ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
3. จันทร  วรากุลเทพ อัจฉรา  กลีบงาม และคณะ. เทคนิคการประดิษฐ์และสร้างสรรคสมุดทำมือ 4.      
    สมุดปกอ่อน. หจก. ซี.อาร์.เอส. ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
4. จันทร วรากุลเทพ อัจฉรา กลีบงาม และคณะ. สมุดทำมือ 13 วิธีทำสมุดด้วยตนเอง. หจก.ซี.อาร์.เอส. 
   ยูนิเวอร์แซล (1986), นนทบุรี.
5. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยการทากาว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
6. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
7. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
8. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องไสสันทากาว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
9. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำรูปเล่มหนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
10. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  งานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
11. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  วัสดุทางการพิมพ์ในงานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
12. พันเอกอุดม  ควรผดุง. งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตามแม่แบบหลังพิมพ์. ครั้งที่ 1 พ.ศ.
     2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
13. มานิตา  เจริญปรุ. ลงมือทำสมุด. หจก.ภาพพิมพ์ 296, กรุงเทพฯ.
14. วีระ  โชติธรรมาภรณ์. งานหลังพิมพ์. ISBN 974-421-041-9  พ.ศ. 2542. โปรแกรมวิชาการพิมพ์  
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
15. วันชัย  ใจสุภาพ. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
16. วันชัย  ใจสุภาพ. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
17. สมาพร  คล้ายวิเชียร. วิวัฒนาการงานหลังพิมพ์. http://www.samaporn.com/?p=1239, สืบค้นวันที่
    4 ต.ค. 2559.
18. สุภาวดี  เทวาสะโณ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
19. สุภาวดี  เทวาสะโณ. การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
    พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    นนทบุรี.
20. สุภาวดี  เทวาสะโณ. สารยึดติด.  พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2542. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
21. เสริมศรี ปุณยรัตน์ และ วิบูลย์  อุปถัมภกสุกล. การตรวจสอบคุณภาพงานสิ่งพิมพ์และการบำรุงรักษา
    เครื่องจักร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
22. หลักการงานหลังพิมพ์สำเร็จรูป.www.tei.or.th/.../120801-31-3_Draft_PCR_Press%20and%20post%,
     สืบค้นวันที่ 4 ต.ค. 2559.
23. อมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยการเย็บลวด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
24. อมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วยเครื่องเย็บลวด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
25. Alisa Golden.  Making Handmade Books.  Lark Crafts, An Imprint of Sterling Publishing,
    2010.
26. Charlotte Rivers.  Little Book of Book Making. United States: The Crown Publishing Group,
    2014.
27. Franz Zeire.  Books, Boxes, And Portfolios.  Everbest Printing Company, 1986.
-  เอกสารประกอบการสอนรายวิชา Material Post-Press  ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
          -  วารสารบรรจุภัณฑ์ไทย  กันยายน-ตุลาคม  2553
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   การจัดประกวดโครงการให้สอดคล้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ด้านงานหลังพิมพ์
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ