ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

วัตถุประสงค์ของรายวิชา :

1.1 เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต
1.2 สามารถรู้และเข้าตนเอง
1.3 พัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว
1.4 วิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่
1.5 ออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
 
Study science and ethics in life, intellectual development processes for solving daily life problems and pursuit of sustained happiness; mind practice; emotional management; self-understanding and self-esteem; personality and development; anti-corruption; modern social behavior; application of information technology for case studies
    - อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและให้ติดต่อผ่านทาง e-mail เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน และสื่อสาร นัดหมายงานต่าง ๆ โดยเฉลี่ย 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
    - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
(ให้กำหนดความรับผิดชอบหลัก/รองหน้าแต่ละข้อเหมือนที่แสดงในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน (ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน (ช่องที่ 6)
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน (ช่องที่ 4)
 
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน (ช่องที่ 6)
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การบรรยายและการฝึกให้ลงมือปฏิบัติค้นคว้าข้อมูลภายในกลุ่ม
ประเมินจากผลงานของกลุ่ม
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การบรรยายและการทำกิจกรรมกลุ่ม
การสรุปฝลการทำงานของกลุ่มและการนำเสนอผลงานของกลุ่ม
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การบรรยายและลงมือปฏิบัติการค้นคว้าหาข้อมูล
ประเมินจากผลการค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ
สามารถเข้าใจตนเองและควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
การประเมินจากผลการปฏิบัติงานร่วมกันของกลุ่ม และเฉพาะบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN103 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1,3.2 ศึกษากรณีตัวอย่างเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1 - 2 15%
2 2.1,4.1 ฝึกปฏิบัติมารยาทไทย 6-8 15%
3 1.3,2.1,3.2 ศึกษากรณีตัวอย่างปัญหาสังคมและการนำเสนอปัญหาสังคมไทย 10-12 10%
4 2.1,3.2,4.1 ศึกษากรณีศึกษาพฤติกรรมสังคมสมัยใหม่และนำเสนอพฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ 13-14 10%
5 2.1,4.1,5.1 นำเสนอกรณีศึกษาการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข 15 20%
6 1.3,2.1,3.2,5.1 กิจกรรมจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 16 20%
7 1.3,4.1 พฤติกรรมในชั้นเรียน จิตพิสัย การมีส่วนร่วมอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 10%
พรทิพย์ เย็นจะบกและคณะ. ศิลปะการดำเนินชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 10 . กรุงเทพฯ , 2553
พรทิพย์ เย็นจะบกและคณะ. ศิลปะการดำเนินชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 10 . กรุงเทพฯ , 2553
เว็บไซค์ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิต  Clips จาก You Tube, วีดิทัศน์, โทรทัศน์
1.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวความคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การปรับปรุงเนื้อหาและแบบฝึกหัดที่ทำการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจสอบผลงานของนักศึกษาโดย
อาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงวิธี แนวทางการสอน เพื่อกระตุ้นความสนใจและประสิทธิภาพของ
นักศึกษา