อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม

Engineering Electronics

1.) เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์พื้นฐาน 2.) เพื่อศึกษาและเข้าใจถึงคุณลักษณะทางกระแส-แรงดันและคุณลักษณะทางความถี่ 3.) ศึกษาการวิเคราะห์และออกแบบวงจรไดโอด 4.) ศึกษาการวิเคราะห์และออกแบบวงจรทรานซิสเตอร์แบบ บีเจที มอส ซีมอส ไบซีมอส ออปแอมป์ และโมดูลแหล่งจ่ายไฟ 5.) เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ และมีทัศนะคติที่ดีต่อวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์ คุณลักษณะทางกระแส-แรงดัน และคุณลักษณะทางความถี่ การวิเคราะห์และออกแบบวงจรไดโอด การวิเคราะห์และการออกแบบของวงจรทรานซิสเตอร์แบบ บีเจที, MOS, CMOS และ BiCMOS, OPAMP และการประยุกต์ใช้งาน โมดูลแหล่งจ่ายไฟ         Study and practice of semiconductor devices, current-voltage and frequency characteristics, analysis and design of diode circuits, analysis and design of BJT, MOS, CMOS and BiCMOS transistor circuits, operational amplifier and its applications, power supply module.
1.) อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ที่บอร์ดหน้าห้องพัก 2.) อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.2) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2.1) สอดแทรกในการบรรยาย 1.2.2) การเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานที่มอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 
1.3.1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2) ปริมาณการทุจริตในการสอบ 1.3.3) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิศวกรรม 2.1.2) nสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
 
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
3.1.1.) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.2.) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ซักถามจากกรณีตัวอย่างโจทย์
3.3.1.) สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.2.) ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากการทำข้อสอบ หรือปัญหาการบ้าน
6.1.1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้าทักษะพิสัยดังข้อต่อไปนี้ 6.2.1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 6.2.2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 6.2.3) สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก 6.2.4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
6.3.1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 6.3.2) มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 5 1 3 3 4 1 2
1 ENGEL105 อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม โดยการสังเกต ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ ตรวจสอบจากการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 ทักษะทางปัญญา การสอบ สอบกลางภาคและปลายภาค 50%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบรายงานกลุ่มและการจดบันทึกการทดลองในห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ 14 15%
1.) “Electronic Devices Conventional Current Version”, Thomas L. Floyd, Pearson Education Limited, England, 2014. 2.) “อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์”, นภัทร วัจนเทพินทร์, พิมพ์ครั้งที่ 6 ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์, 2551. 3.) “Engineering Electronics Laboratory”, ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย จีนะวงษ์, เอกสารประกอบการทดลอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, เชียงราย
1.) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน 2.) แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและประมวลผล
1.) ผลการเรียนของนักศึกษา ผลการสอบ 2.) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
1.) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2.) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1) การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2) มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1) ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2) เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ