เรื่องคัดเฉพาะทางธุรกิจอาหารและโภชนาการ

Selection Topic in Food Business and Nutrition

1.1  อธิบายความหมาย ความสำคัญของทิศทางอาหารในปัจจุบัน
1.2  เข้าใจแนวโน้มของการพัฒนาอาหารในอนาคต
1.3  ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องอาหารที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทิศทางอาหารในปัจจุบัน เข้าใจแนวโน้มของการพัฒนาอาหารในอนาคต การหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารที่กำลังเป็นที่นิยม และนำมาประยุกต์และฝึกปฏิบัติประกอบอาหารที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝึกงาน ปัญหาพิเศษ เป็นต้น
ศึกษาในเรื่องคัดเฉพาะที่น่าสนใจเกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ
    1 วันพุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 085 9108165
    2  e-mail; achara2518@yahoo.co.th เวลา 18.00 – 20.00 น. ทุกวัน
   2 Line กลุ่มของ นักศึกษาชั้นปีที่ 4
™   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- การสอนแบบบรรยายเนื้อหาทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มทิศทางอาหารที่น่าสนใจในปัจจุบันและอนาคต
- สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมของการวิจัย หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- สอนแบบฝึกทักษะโดยการปฏิบัติลงมือปฏิบัติอาหารที่น่าสนใจในปัจจุบัน
- การสังเกต พฤติกรรมและความสนใจ
- ประเมินผลงานที่รับผิดชอบร่วมกันของกลุ่ม
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
˜  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
™  สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมในงานวิจัยใหม่ๆทางด้านอาหาร
- การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง ด้วยการค้นคว้างานวิจัยทางด้านอาหารทางอินเตอร์เน็ต
- การสอนที่ร่วมกับการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติประกอบอาหารตามเทรนปัจจุบัน
- การสอนด้วยวิชาปฏิบัติการควบคู่ไปกับการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติอาหารในรูปแบบต่างๆ
˜  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
™  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- สอนโดยเน้นให้รู้ถึงแนวโน้มทิศทางอาหารในปัจจุบันและอนาคต
- สอบแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
- สอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารตามทิศทางที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- ประเมินจากเล่มรายงานโครงงานทดลองอาหาร
- การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
™  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
™ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในการฝึกปฏิบัติอาหารจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
-  กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาในการส่งงานและรายงาน
- ประเมินจากผลของการทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง
-  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
-  ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน   
˜  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
™  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยด้านอาหารจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ในการประกอบอาหารและปฏิบัติทางโภชนาการ สามารถทำงานเป็นทีม ตลอดจนสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งในการปฏิบัติงานได้ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ 3 มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 4 มีมนุษย์สัมพันธ์ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ปฏิบัติตามกฏระเบียบของสถานประกอบการและองค์กรได้ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขา รวมถึงวิจัยและสามารถต่อยอดองค์ความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องได้ 3 มีทักษะในการประยุกต์และใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ 1. มีภาคปฏิบัติทางด้านธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการ ตลอดจนสามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้ 2 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาขามาประยุกต์ใช้แก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทในการปฏิบัติงานด้านธุรกิจอาหารที่เกี่ยงข้องกับอาหารและโภชนาการ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามในงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการทำงานภาคปฏิบัติได้ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านโภชนาการได้อย่างเหมาะสม 1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้ 2 สามารถสื่อสาร นำเสนอ และติดตามความก้าวหน้าที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม 3 สามารถนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสถิติประยุกต์มาช่วยแนะนำและแก้ไขประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่งสร้างสรรค์
1 BSCFN147 เรื่องคัดเฉพาะทางธุรกิจอาหารและโภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ ปฏิบัติอาหารในเรื่องคัดเฉพาะทางธุรกิจอาหารฯ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 13-15 ตลอดภาคการศึกษา 8 16 10 % 25 % 25 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ 15 16 ตลอดภาค 10%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร เล่มรายงาน 1-15 10%
- สำนักอาหาร. 2559. คู่มือรณรงค์ให้ความรู้เรื่อง สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำหรับบุคคลทั่วไป. นนทบุรี: ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่ง  ชาติ สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, กระทรวงสาธารณสุข.
- กรรณิการ์ อ่อนสำลี. 2563.  การใช้สารสกัดจากหญ้าหวานในผลิตภัณฑ์พุดดิ้งนมสดมะพร้าวอ่อน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 28(6), 1075 – 108
- กมลพิพัฒน์  ชนะสิทธิ์, ปริชญา แพมงคล และศศิธร  ป้อมเชียงพิณ.  2009.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์เยลลี่มะม่วงหาวมะนาวโห่.  ใน: เอกสารการสืบเนื่องการประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9. สาขาเกษตรศาสตร์สร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ; หน้า 63 – 71.
- ปิยนุสร์ น้อยด้วง และนคร  บรรดิจ.  2558.  การใช้มอลทิทอลและซูคราโลสในการผลิตคุกกี้เนยแคลอรี่ต่ำ.  สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 4(2), 42 – 51.
- สถาบันอาหาร. 2562.  3 นวัตกรรมช่วยโลกลด food waste จากผักและผลไม้.  ใน NFI food innovation issue. สถาบันอาหาร. กระทรวงอุตสาหกรรม.
- สถาบันอาหาร. 2562.  นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารสาหรับผู้ต้องได้รับการดูแล (Medicare Food).  ใน NFI food innovation issue.  สถาบันอาหาร. กระทรวงอุตสาหกรรม.
- ภิญญาพัชญ์ คามามูล. 2562.  เนื้อไร้เนื้อ (Planted Based Food) เทรนด์อาหารอนาคตปี 2020.  ใน NFI food innovation issue.  สถาบันอาหาร. กระทรวงอุตสาหกรรม.
- ฐิโรจน์ โกวัฒนะ. 2562.  SuperFoods สุดยอดอาหารอุดมคุณค่า.  ใน NFI food innovation issue.  สถาบันอาหาร. กระทรวงอุตสาหกรรม.
- เครือวัลย์ พรมลักษณ์. 2562.  10 แนวโน้มอาหาร อาหารมาแรงตอบโจทย์ผู้บริโภคยุคใหม่.  ใน NFI food innovation issue.  สถาบันอาหาร. กระทรวงอุตสาหกรรม.
- ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. 2560.  โอกาสของ SME ในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับอาหารเพื่อสุขภาพ. ใน ข้อมูลวิจัยของธนาคารกสิกรไทย.
- พูลสวัสดิ์  เผ่าประพัธน์.  มปป. Food for the future ใน เอกสารประกอบการนำเสนอของกลุ่มธุรกิจ ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน).
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 รายงานจากเล่มเอกสารเรื่องคัดเฉพาะทางธุรกิจอาหารฯ
1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน
1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.4 แบบประเมินผู้สอน
 
กลยุทธ์ในการประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดูผลจากผลการประเมินผู้สอนของนักศึกษาและนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง