การทำเหมืองผิวดินและการออกแบบ

Surface Mining and Mine Design

ศึกษาการสำรวจแร่ การประเมินและพัฒนาแหล่งแร่ การจำแนกและการเลือกใช้วิธีทำเหมืองผิวดินแบบต่างๆ งานขุดดินและหิน เทคนิคการเจาะและระเบิด การป้องกันสิ่งแวดล้อม สวัสดิการและความปลอดภัยในการทำเหมืองผิวดิน
         1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำเหมืองผิวดินแบบต่างๆ
         2.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถประเมิน พัฒนา เลือกวิธีและออกแบบการทำเหมืองผิวดินได้ 
         3.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยในการทำเหมืองผิวดิน
----------    ตามที่ระบุไว้ในเล่มหลักสูตร    -------------
  -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงความซื่อสัตย์ในการออกแบบและการทำเหมืองผิวดิน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและทำเหมืองผิวดิน ฝึกปฏิบัติการออกแบบและการทำเหมืองผิวดินจากกรณีศึกษา (Problem and Project Base Learning) อภิปรายกลุ่ม

กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือการสร้างเหตุการณ์สมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ วิธีการคำนวณ  การรวมองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและทำเหมืองผิวดิน
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และทดลองออกแบบการทำเหมืองผิวดิน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ผ่านโครงงาน Problem – based Learning ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฏี และแนวคิดรวบยอดในการใช้ความรู้เชิงประยุกต์กับการปฎิบัติการด้านงานเหมืองแร่
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
               3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และสารมารถตกผลึกทางความคิดได้
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
            3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษาในการออกแบบการทำเหมืองแร่ โดยใช้ข้อมูลทางธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีในการทำเหมืองผิวดิน  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน  เป็นเครื่องมือหลักในการตัดสินใจในการออกแบบการทำเหมืองผิวดิน
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์การออกแบบการทำเหมืองแร่ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เป็นเครื่องมือหลักในการตัดสินใจ
3.3.2   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับมอบหมายกรณีศึกษาต่างๆ
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอผลงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และกลุ่ม ด้วยการสะท้อนความคิด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การคำนวณปริมาณสำรองแร่, Cycle Time, ค่าใช้จ่าย เป็นต้น
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1   บรรยาย นำเสนอผ่านกรณีศึกษา หรือ เหตุการณ์สมมุติ
5.2.2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.3   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 การวางแผนการทำเหมือง ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - ขั้นตอนการพัฒนาเหมือง - การวิเคราะห์ตัวอย่างหลุมเจาะสำรวจ - การวางแผนทำเหมืองแร่ บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 1 1/13
2 บทที่ 1 การวางแผนการทำเหมือง(ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - การวางแผนค่าใช้จ่าย - การประมาณการมูลค่าเหมืองแร่ - การศึกษาความเป็นไปได้ในการทำเหมืองแร่ - การฟื้นฟูสภาพหลังการทำเหมือง บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 2 1/13
3 บทที่ 2 ผลตอบแทนและค่าใช้จ่ายในการทำเหมือง ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 3 1/13
4 บทที่ 2 ผลตอบแทนและค่าใช้จ่ายในการทำเหมือง (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - การประมาณการผลตอบแทนจากการทำเหมือง - การประมาณการค่าใช้จ่ายจากการทำเหมือง บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 4 1/13
5 บทที่ 3 การวิเคราะห์ Ore body ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - แผนที่การทำเหมือง - ข้อมูลทางธรณีวิทยา - การคำนวณปริมาณแร่ บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 5 1/13
6 บทที่ 3 การวิเคราะห์ Ore body (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - Method of Vertical sections - Method of Vertical sections (grade contours) - The method of horizontal sections - Block models - Statistical basis for grade assignment - Kriging บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 6 1/13
7 บทที่ 4 การพิจารณาทางเรขาคณิต ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - เรขาคณิตพื้นฐาน - การเข้าถึงตัวแร่ (Ore Body access) - กระบวนการการขยายบ่อเหมือง - ความลาดชันของบ่อเหมือง - มุมลาดชันของขอบบ่อเหมืองสุดท้าย(Final Pit) - แผนผังการทำเหมือง บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 7 1/13
8 สอบกลางภาค สอบแสดงวิธีทำ ให้เอาเครื่องคิดเลข เข้าได้ กระดาษทด และ หนังสือเข้าได้ 8 7/13
9 บทที่ 4 การพิจารณาทางเรขาคณิต (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - การเพิ่มถนนเข้าไปในแผนที่การทำเหมือง - โครงสร้างของถนน - Stripping ratio - Geometric sequencing บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 9 1/13
10 บทที่ 5 ขีดจำกัดของบ่อเหมือง (Pit Limit) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - การคำนวณและออกแบบเบื้องต้น - การคำนวณทางเศรษฐศาสตร์จากการทำ Block Models บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 10 1/13
11 บทที่ 5 ขีดจำกัดของบ่อเหมือง (Pit Limit) (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - The floating cone technique - The Lerchs-Grossmann 2-D algorithm - Modification of the Lerchs-Grossmann 2-D algorithm to 2½ - D algorithm - The Lerchs-Grossmann 3-D algorithm - Computer assisted methods บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 11 1/13
12 บทที่ 6 การวางแผนการผลิต ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - บทนำ - การประมาณอายุการทำเหมือง - Taylor’s mine life rule - Sequencing by nested pit บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 12 1/13
13 บทที่ 6 การวางแผนการผลิต (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - Cash flow calculation - Mine and mill plant sizing - Lanes algorithm - Material destination considerations บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 13 1/13
14 บทที่ 6 การวางแผนการผลิต (ต่อ) ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - Production scheduling - Push back design - The mine planning and design process บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 14 1/13
15 บทที่ 7 สรุปการออกแบบและทำเหมืองผิว ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง - สรุปการออกแบบและทำเหมืองผิว บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา 15 1/13
16 สอบปลายภาค สอบโดยแสดงวิธีทำ สามารถนำเอาการบ้านที่เคยทำเข้าได้ เปิดหนังสือได้ และ เครื่องคำนวนเข้าได้ 16 8/13
WILLIAM HUSTRULID (1995). OPEN PIT MINE PLANING&DESIGN Volume 1 - 2
ไม่มี
ไม่มี
ตามระเบียบ มหาวิทยาลัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ