ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3

Practical Skills in Plant Science 3

1.1 มีทักษะความชำนาญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
1.2 มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานทางการผลิตพืช
1.3 มีทักษะในการเตรียมดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การปลูก การดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต ในแผนกที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ
1.4 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อความเชี่ยวชาญในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การสร้างทักษะการขยายพันธุ์พืช การบำรุงดูแลรักษาดิน การใช้ปุ๋ย การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การจัดการเก็บเกี่ยวพืชประเภทต่าง ๆ
3.1 วันจันทร์ – วันศุกร์ ในเวลาราชการ ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ โทร.. 0861876760
3.2  E-mail : bunjong_19@hotmail.com  เวลา 08.00 - 21.00 น. ทุกวัน
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าปฏิบัติงานตรงเวลาและสม่ำเสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ปฏิบัติงานให้สำเร็จตามกำหนด
- ร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าปฏิบัติงานตรงเวลา
- ร้อยละ  85 ของนักศึกษาปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้ฝึกกำหนด
˜2.1มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- อธิบายวัตถุประสงค์ บรรยายความรู้ทั่วไปและวิธีปฏิบัติในการขยายพันธุ์ การปลูกและการบำรุงรักษาพืชในแต่ละสัปดาห์ตามแผนการผลิต
-ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- นักศึกษาบันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงาน  ผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปสรรคปัญหาที่เกิด
 ประเมินผลการผลการปฏิบัติงาน
- ความถูกต้องของการปฏิบัติงาน
- ปริมาณและคุณภาพของงานที่ปฏิบัติได้
- ความสมบูรณ์เรียบร้อยของการบันทึกผลการปฏิบัติงาน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยสังเกตทักษะด้านต่างๆ
  - การมีทักษะในการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับประเภทของงาน
  - การดัดแปลงและประยุกต์ใช้เครื่องมือและวิธีการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับงานการผลิตพืชแต่ละชนิด
  - การเสนอข้อคิดเห็นเพื่อการพัฒนางาน
  - การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นในระหว่างปฏิบัติงาน
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาเท่ากับจำนวนฐานฝึกทักษะวิชาชีพของสาขา
- ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานร่วมกัน ในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- ประเมินจากพฤติกรรมในระหว่างปฏิบัติงานร่วมกันของนักศึกษา
- ประเมินผลจากการทำความสะอาดและส่งคืนเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผนการผลิต/การดำเนินงาน โดยสืบค้นข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งต่างๆ
- มอบหมายให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการผลิต และสืบค้นแนวทางในการแก้ไขปัญหาแล้วนำมาประยุกต์ใช้
- รายงานผลการฝึกทักษะ โดยให้มีการวิเคราะห์ในการนำความรู้ไปใช้ในการเรียนวิชาชีพทางพืชศาสตร์ต่อไป
-ให้นักศึกษานำเสนอภาพรวม
ผลการปฏิบัติงานในคาบสุดท้ายก่อนสอบปลายภาค โดยนำเสนอในรูปของ Powerpoint  
- ประเมินผลจากการนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการผลิต
- ประเมินผลจากคุณภาพงานที่นำเสนอและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการผลิตของหมวดงานที่ได้เข้าไปฝึกปฏิบัติงาน
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
- ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- มอบหมายงานให้ปฏิบัติเพิ่มเติม 1 ชิ้นงานเป็น PBL.
คุณภาพของผลงานมอบหมายจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 3 4 1 2 1
1 BSCAG103 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม สังเกตพฤติกรรม กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน มีจรรยาบรรณ มีจิตสำนึก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 1-17 30%
2 2.1มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง - ผลการปฏิบัติงานทางด้านปริมาณและ คุณภาพ 1-17 50%
3 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม 1-17 20 %
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชสวนประดับ-ไม้ดอก  พืชผัก ไม้ผล  พืชไร่ การผลิตพืชทั่วไป การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และการอารักขาพืช
-
-
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิตผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป