ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1.1 เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต
1.2 สามารถรู้และเข้าใจตนเอง
1.3 พัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว
1.4 วิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่
1.5 ออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
 
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
 
Study science and ethics in life, intellectual development processes for solving daily life problems and pursuit of sustained happiness; mind practice; emotional management; self-understanding and self-esteem; personality and development; anti-corruption; modern social behavior; application of information technology for case studies
13:00 – 16:00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน
(ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน
(ช่องที่ 6)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน
(ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน
(ช่องที่ 6)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน
(ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน
(ช่องที่ 6)
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน
(ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน
(ช่องที่ 6)
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องวิธีการสอน
(ช่องที่ 4)
รายละเอียดตาม teaching plan ช่องกลยุทธ์และวิธีการประเมิน
(ช่องที่ 6)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 2.1 การจัดทำโครงการที่สนใจ (Project) 1-15 30%
3 3.2 งาน/กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 30%
4 สอบกลางภาค 8 15%
5 สอบปลายภาค 17 15 %
1. ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
- ตำราศิลปะการใช้ชีวิต เรียบเรียงโดย รศ.ชูเกียรต์ เต็งไตรนุสรณ์ (2560)
 
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
-
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
1.1 การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
1.2 กิจกรรมกลุ่ม
ตามการประเมินที่ได้จากภาควิชา/คณะ ตามการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอน
ปรับปรุงการสอนตามที่ภาควิชา/คณะ กำหนด โดยมีการนัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ใช้ทวนสอบนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น คะแนนข้อสอบ งานที่มอบหมาย การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
ใช้ประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง