โครงงานเซรามิก

Ceramics Project

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนและเสนอโครงงานรายบุคคล กระบวนการวางแผนและด าเนิน โครงงานรายบุคคล การเขียนรายงานโครงงานรายบุคคล การน าเสนอผลการด าเนิน โครงงานรายบุคคล 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการทำโครงงานรายบุคคล เพื่อนำความรู้ที่ได้มานำเสนอผลงานด้วยเอกสาร ชิ้นงาน และแบบเสนอผลงาน
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนและเสนอโครงงานรายบุคคล กระบวนการวางแผนและด าเนิน โครงงานรายบุคคล การเขียนรายงานโครงงานรายบุคคล การน าเสนอผลการด าเนิน โครงงานรายบุคคล 
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น

มนุษย์

เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจการทำโครงงานรายบุคคล เพื่อนำเสนอผลงานด้วยเอกสาร ชิ้นงาน และแบบเสนอผลงาน
บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการทำโครงงานรายบุคคล
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนโครงงาน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1)  มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า                                   
(2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                   
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
 ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ท าตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้าน คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ด้าน ทักษะ ทาง ปญัญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ 6. ด้านทักษะ พิสัย (ทักษะ วิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECE138 โครงงานเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค (ส่งรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1) สอบปลายภาค (ส่งรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2) 9 17 15% 15%
2 การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา 50 %
3 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 20 %
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. กัญญา กำศิริพิมาน. (2540). การวิจัยทางอาชีวศึกษา. เชียงใหม่: ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2539). คู่มือการเขียนวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าแบบอิสระ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3. ญาณี รักษาทรัพย์. (2535). การศึกษาสมรรถนภาพของนักเทคโนโลยีสาขาเซรามิกตามความต้องการของตลาดอุตสาหกรรมช่วงปี พ.ศ. 2533-2540. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
4. หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมอาชีวศึกษา. (2537). การวิจัยและประเมินผล แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
5. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2541). คู่มือการเขียนวิทยานิพนธ์. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2535). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: B&B Publishing.
7. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2537). หลักการวิจัยเบื้องต้น : ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โครงการการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยมหิดล.
8. ประนอม มานะกิจ. (2536). การทดลองเนื้อดินปั้นจังหวัดนครสวรรค์เพื่อใช้ในงานเครื่องปั้นดินเผาประเภทสโตนแวร์. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
9. ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2539). เอกสารประกอบการสอนวิจัยการศึกษา. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
10. ล้วน สายยศ. และอังคณา สายยศ. (2536). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
11. สมบูรณ์ สารสิทธิ์. (2539). การทดลองเนื้อดินปั้นจากดินแดงจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อการขึ้นรูปด้วยวิธีหล่อแบบและน้ำเคลือบที่เหมาะสม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
 
12. สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (บรรณาธิการ). (2535). รวมบทความทางการประเมินโครงการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
13. เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์. (2540). โครงการปรับปรุงคุณภาพดินพานทองเพื่อการใช้ในการขึ้นรูปด้วยการหล่อน้ำสลิป. (รายงานประกอบการศึกษาตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาเครื่องเคลือบดิบเผา) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
14. อภิญญา วิไล. (2541). การพัฒนาเนื้อดินเอิร์ทเทนแวร์ในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อการขึ้นรูปวิธีการหล่อน้ำดินและการตกแต่งด้วยเคลือบ. (รายงานประกอบการศึกษาตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาเครื่องเคลือบดิบเผา) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
15. อภิญญา วิไล. (2541). โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกบล็อค. (รายงานประกอบการศึกษาตาม หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาเครื่องเคลือบดิบเผา) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
16. อภิญญา วิไล. (2542). โครงการออกแบบประกอบและตกแต่งภายในบ้าน. (รายงานประกอบการศึกษาตามหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาเครื่องเคลือบดิบเผา) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์