ศิลปหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา

Ceramics Arts and Crafts

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความส าคัญของศิลปหัตถกรรมกรรมเครื่องปั้นดินเผา แบบอย่าง และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาที่มีชื่อเสียง แนวโน้มและความเคลื่อนไหวของวงการศิลปหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาทั้งในและ ต่างประเทศ แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานเซรามิกประเภทศิลปกรรม และหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์พาเรียน การพัฒนาแนวคิดและรูปแบบศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาลักษณะนูน ต่ านูนสูงและลอยตัว การเลือกใช้วัตถุดิบ เทคนิคการสร้างสรรค์และตกแต่งชิ้นงาน ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาในลักษณะเฉพาะของตนเอง และการน าเสนอผลงาน 
1. รู้ประวัติงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
2. รู้ประเภทของงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
3. รู้จักเครื่องมือที่ใช้ในงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
4. รู้กระบวนการผลิตงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
5. รู้จักการนางานผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผามาประยุกต์และสร้างสรรค์ใช้กับงานชนิดอื่นๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความส าคัญของศิลปหัตถกรรมกรรมเครื่องปั้นดินเผา แบบอย่าง และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาที่มีชื่อเสียง แนวโน้มและความเคลื่อนไหวของวงการศิลปหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาทั้งในและ ต่างประเทศ แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานเซรามิกประเภทศิลปกรรม และหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์พาเรียน การพัฒนาแนวคิดและรูปแบบศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาลักษณะนูน ต่ านูนสูงและลอยตัว การเลือกใช้วัตถุดิบ เทคนิคการสร้างสรรค์และตกแต่งชิ้นงาน ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาในลักษณะเฉพาะของตนเอง และการน าเสนอผลงาน 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความเอื้ออาทรต่อผู้ร่วมงานในโรงงาน มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความเคารพในสิทธิส่วนบุคคลระหว่างเพื่อนร่วมงาน เคารพในหน้าที่และความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตร

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยรักษาเวลา มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีบุคลิกในสภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามสามารถแก้ปัญหาได้ตามลาดับความสำคัญ เคารพในการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ปฏิบัติตามกฎและระเบียบข้อปฏิบัติขององค์กรอย่างเคร่งครัด สามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อองค์กรจากสภาวะสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาบทบาทสมมติ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ประกอบกับการอ้างอิงเอกสารที่ใช้ทารายงาน ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
รู้จักการนางานผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผามาประยุกต์และสร้างสรรค์เป็นงาน หัตถกรรมที่ผสมผสาน กับงานชนิดอื่นๆได้อย่างลงตัว
บรรยายเนื้อหา อธิบายหลักการทางานเป็นกลุ่มการนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
ขาดสอบย่อยในห้องเรียน สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียนด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ และการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ จากกรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการการนาวัสดุอื่นมาประกอบใช้ให้เกิดความสวยงาม
มีการมอบให้ทาโครงงานพิเศษ ที่ใช้เหตุและผลในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา การนาเสนอผลงาน อภิปรายกลุ่ม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะห์ปัญหากรณีศึกษาการ สะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มีการมอบหมายงานทั้งกลุ่มและรายบุคคล ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ ทักษะในการนาเสนอรายงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มีการมอบหมายให้ศึกษาด้วยตนเอง ทารายงานโดยเน้นการนาตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลน่าเชื่อถือ นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1)  มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า                                   
(2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                   
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
  ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
   ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้าน คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้าน ทักษะ ทาง ปญัญา 4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคล 5. ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ 6. ด้านทักษะ พิสัย (ทักษะ วิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3
1 BTECE141 ศิลปหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6 1.7, 2.1 2.4-2.6 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1, 1.6 1.7, 2.1 2.4-2.6 3.2, 4.1 4.6, 5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทางานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20 %
3 1.1-1.7 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
เอกสารรวมรวม โดย รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ หล้าสมศรี
ไม่มี
เว็ปไซต์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน

2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ