วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Industrial Product Materials

1.1 มีความรู้เกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 1.2 เข้าใจถึงคุณสมบัติและประเภทของวัสดุในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 1.3 มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโดยคำนึงถึงความเหมาะสมและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 1.4 มีทักษะในการประยุกต์วัสดุให้เหมาะสมกับวิธีการผลิตในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับวัสดุและการประยุกต์ใช้ในงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องและการประกอบวิชาชีพในอนาคต
ศึกษาวัสดุและอุปกรณ์ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คุณสมบัติ ประเภท และการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ รวมถึงวิธีการผลิต โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้         1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม         1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
 1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม         1.2.2 การให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
 1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา       1.3.2 การสังเกตพฤติกรรม       1.3.2 ผลงานจากการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
            2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง             2.1.4  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการนำไปประยุกต์ใช้งานการแก้ปัญหา
     2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี      2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
        3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
 3.2.1 สอนบรรยายพร้อมการทำกิจกรรมในห้องเรียน โดยสอดแทรกให้นักศึกษารู้จักกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ        3.2.2 มอบใบงานกิจกรรมให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยให้มีการรวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
       3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการแก้ไขปัญหา        3.3.2 วัดผลจากการทำใบงานกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวข้อ        3.3.3 วัดผลจากการมอบหมายโครงงานกลุ่ม        3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
       4.2.1 สอนบรรยายพร้อมการทำกิจกรรมในห้องเรียน โดยสอดแทรกเรื่องการมีมารยาททางสังคม การยอมรับฟังความคิดเห็นจาก        4.2.2 มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม ให้มีการหมุนเวียนกันในการทำหน้าที่ต่างๆ
        4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม         4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ        5.1.2 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
      5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ       5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
       5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี        5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID105 วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ประเมินจาก การรับผิดชอบในการทำงาน การทำงานส่งตรงเวลา การสอบ จากการไม่คดโกง ไม่ทุจริต ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 24 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 30
3 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง การค้นคว้าหาข้อมูล การทำใบงานกิจกรรม การถามตอบและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และการทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 40
4 .1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม ให้คะแนนประเมินจากการการนำเสนอผลงาน ตามกิจกรรมที่กำหนด จกทักษะการนำเสนอ การใช้ภาษา การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ สัปดาห์ที่ 15 และ 16 ร้อยละ 20
1. รศ. เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์. วัสดุศาสตร์มูลฐาน: Introduction To Materials Science. กรุงเทพมหานคร :                           สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 2. R. Dogra. Advances in Material Science. 6th ed. London, 2015. 3. J. Wood. The top ten advances in materials science. Materialstoday, Vol. 11: 1–2, 2008, P. 40-45. 4. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักโอเดียนสโตร์ ,2539 5. A. Michel, P. Panagiotis, S. Chafic-Touma. Technologies and Materials for Renewable Energy, Environment and Sustainability. Energy Procedia, Vol. 119, 2017, P. 1-2. 6. ภาสุรี ฮามวงศ์. งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วาดศิลป์, 2552. 7. G. Tsoumis. Science and Technology of Wood Structure, Properties and Utilization. 3rd ed. 2009 Gulf Professional Publishing. 8. W.D. Kingery, H.K. Bowen and D.R. Uhlmann. Introduction to ceramics. 2nd ed, New York : John Wiley, 1976.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการทบทวนวิธีการสอนให้เหมาะสมกับนักศึกษาจากหัวหน้าหลักสูตร อาจารย์ภายในหลักสูตร
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน การประเมินผลสัมฤธิ์ของนักศึกษา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการประเมินทุกปีการศึกษา เพื่อให้เกิดคุณภาพในการสอนและประสิมธิผลมมากขึ้น