สถิติพื้นฐาน

Elementary Statistics

1.รู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ  2.เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น  3.เข้าใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม  4.เข้าใจหลักการประมาณค่าและทดสอบสมมติฐาน  5.เข้าใจหลักการวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์อย่างง่าย  6.เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่างๆ  7.ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และสามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นระบบชัดเจน รัดกุมและมั่นใจในการแก้ปัญหา ตลอดจนคิดคำนวณได้อย่างถูกต้อง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ ความหน้าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแตงตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง กระประมานค่าและการทดสอบสมมติฐานของค่าพารามิเตอร์กลุ่มเดี่ยวและสองกลุ่ม การวิเคราะห์ ความแปรปรวน และการวิเคราะห์การถดถอยและ สหสัมพันธ์อย่างง่าย
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา  - พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้  - มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  - เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอบสูตรที่ใช้ในบทเรียนต้นชั่วโมง มาสายหมดสิทธิ์สอบสูตร บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการคำนวณในแต่ละวิธีในเนื้อหาที่เรียน พร้อมทั้งในสูตรในการคำนวณ แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง ซักถามข้อสงสัย  - มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดส่งตามกำหนด
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การเลือกใช้วิธีการในการแก้ปัญหาโจทย์ได้ถูกต้อง  - ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียน 
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียน  - วิเคราะห์ และแก้ปัญหาโจทย์โดยพิจารณาจากการซักถามในห้องเรียน- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
มอบหมายให้ทำโจทย์ปัญหา  - เสนอแนวคิดที่ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา 
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์  แก้ไข
4.1.1   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามที่มอบหมาย  4.1.2   พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
 4.2.1   มอบหมายงานเป็นรายกลุ่ม และรายบุคคล แล้วให้นำเสนอเป็นรายงาน   4.2.2   ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และนำเสนอเป็นรายงาน
4.3.1   สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม  4.3.2   สังเกตจากการตรวจงานที่มอบหมาย
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข  5.1.2   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5.1.3   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์หรือสื่อการสอนอื่นๆ  5.2.2   นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 22000001 สถิติพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 9 25%
2 1.3, 2.1, 3.2 สอบย่อย จบบทเรียนแต่ละบท 30%
3 1.3, 2.1, 3.2 สอบปลายภาค 17 25%
4 1.3, 2.1, 3.2 การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 20%
สถิติพื้นฐาน.เอกสารประกอบการสอน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เอกสารประกอบการสอน
      - รองศาตราจารย์ชัชวาล  เรืองประพันธ์.สถิติพื้นฐาน.โครงการผลิตตำรา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.2544 
      -  สายชล สินสมบูรณ์ทอง.สถิติเบื้องต้น (ELEMENTARY STATISTICS).สถาบันเทคโนโลยีพระคุณเจ้าทหารลาดกระบัง.2553
การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน  - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน  แก้ไข
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา  - ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  แก้ไข
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ