เครื่องมือวัดและการวัดไฟฟ้า

Electric Instrument and Measurement

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน รู้หลักการของเครื่องมือวัด
1.2 เข้าใจรูปแบบการแสดงผลของเครื่องมือวัด
1.3 มีทักษะในการนําเครื่องตรวจสอบสัญญาณคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ร่วมไปใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง
1.4 เข้าใจหลักการและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัด
1.5 มีกิจนิสัยที่ดีในการใช้เครื่องมือวัด
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนําความรู้ ความเข้าใจ  ในการทํางานของเครื่องมือวัดและการหลักการวัด เพื่อนําไปประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ ให้สอดคล้อง กับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีปัจจุบัน 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหน่วยและมาตรฐานการวัดทางไฟฟ้า ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การวิเคราะห์การวัด การวัดกระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับโดยใช้เครื่องวัดแบบ อนาล็อกและแบบดิจิตอล การวัดกําลัง ตัวประกอบกําลังและพลังงานไฟฟ้า การวัดค่าความต้านทาน ค่าความ เหนี่ยวนําและค่าความจุไฟฟ้า การวัดความถี่และคาบหรือช่วงเวลา สัญญาณรบกวน การแปลงสัญญาณ และการ สอบเทียบเครื่องมือวัด
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ หรืออีเมล 
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการนําความรู้ไปใช้งานอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติ หลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   เช่น การใช้ ซอฟต์แวร์ที่มี ลิขสิทธิ์ 
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกําหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสําคัญ การทํางานของเครื่องมือวัด วิธีการวัด การการบํารุงรักษา และเพื่อนําไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ 
บรรยาย  อภิปราย การทํางานกลุ่ม  การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการประยุกต์จากทฤษฏี โดยนํามาลงมือ ปฏิบัติในห้องทดลอง ศึกษาโดยใช้ปัญหา และProblem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็น สําคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ
ทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการลงปฏิบัติงาน ทดลอง สรุปผลการทดลองและอภิปราย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากหลัก
3.2.1   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนําทฤษฏีเลือกใช้ให้เหมาะสม
3.2.2   การลงปฏิบัติงาน ทดลอง สรุปผลการทดลองและอภิปราย
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติปฏิบัติ
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์ และ การประยุกต์ใช้ทฤษฏี
3.3.2   สอบปฏิบัติ
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกําหนดเวลา 
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่ เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนําเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ  พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1   ทักษะการคิดคํานวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้อง แสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ 
5.1.6   ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทํารายงานโดยเน้นการ นําตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการต่อวงจร 6.1.2 สามารถใช้ะเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
6.2.1 มอบหมายงานให้ทำการปฏิบัติการ 6.2.2 นำเสนอผลการปฏิบัติการโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะส แก้ไข
6.3.1 ประเมินจากรายงานผลการปฏิบัติการ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 6.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ ซอฟต์แวร์ที่มี ลิขสิทธิ์ 1.2.2 อภิปรายกลุ่ม 1.2.3 กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกําหนดบทบาทสมมุติ บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการประยุกต์จากทฤษฏี โดยนํามาลงมือ ปฏิบัติในห้องทดลอง ศึกษาโดยใช้ปัญหา และProblem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็น สําคัญ 3.2.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนําทฤษฏีเลือกใช้ให้เหมาะสม 3.2.2 การลงปฏิบัติงาน ทดลอง สรุปผลการทดลองและอภิปราย 3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติปฏิบัติ 4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่ เกี่ยวข้องกับรายวิชา 4.2.3 การนําเสนอรายงาน 5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทํารายงานโดยเน้นการ นําตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 6.2.1 มอบหมายงานให้ทำการปฏิบัติการ 6.2.2 นำเสนอผลการปฏิบัติการโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมแก้ไข
1 TEDEE403 เครื่องมือวัดและการวัดไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน รู้หลักการของเครื่องมือวัด 1.2 เข้าใจรูปแบบการแสดงผลของเครื่องมือวัด 1.3 มีทักษะในการนําเครื่องตรวจสอบสัญญาณคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ร่วมไปใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง 1.4 เข้าใจหลักการและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัด สอบกลางภาค 9 30%
2 1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน รู้หลักการของเครื่องมือวัด 1.2 เข้าใจรูปแบบการแสดงผลของเครื่องมือวัด 1.3 มีทักษะในการนําเครื่องตรวจสอบสัญญาณคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ร่วมไปใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง 1.4 เข้าใจหลักการและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัด สอบปลายภาค 18 30%
3 1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน รู้หลักการของเครื่องมือวัด 1.2 เข้าใจรูปแบบการแสดงผลของเครื่องมือวัด 1.3 มีทักษะในการนําเครื่องตรวจสอบสัญญาณคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ร่วมไปใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง 1.4 เข้าใจหลักการและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัด การปฏิบัติใบงานในรายวิชา 1-16 30%
4 1. มีกิจนิสัยที่ดีในการใช้เครื่องมือวัด 2. มีความตรงต่อเวลา ขยันเรียน ใฝ่เรียนรู้ - การเช็คชื่อเข้าเรียน - การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย - การสังเกตในคาบเรียน 1-16 10%
1.  มงคล  ธุระ.  เครื่องมือวัดไฟฟ้า (ภาคทฤษฎี).  เชียงใหม่ : โรงพิมพ์นันทพันธ์พริ้นติ้ง จำกัด เชียงใหม่ , 2556.
2. โครงการผลิตสสื่อการเรียนการสอน สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ด้านสื่อสิ่งพิมพ์.  เครื่องมือและการวัดอิเล็กทรอนิกส์. : มปพ, 2542.
3. สายัณต์  ชื่นอารมย์.  เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรีนแอปเปิ้ลพรินติ้ง จำกัด , 2557.    
4. มงคล ทองสงคราม.  เครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า.  กรุงเทพฯ : พรทิวาการ, มปป.  
5. ผดุงศักดิ์ วงศ์แก้วเขียว. เอกสารประกอบการเรียนวิชาเครื่องมือการวัดอิเล็กทรอนิกส์  : มปพ, มปป.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ