หลักเคมี

Principles of Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1. รู้และเข้าใจในโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ หลักการเกิดพันธะเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมี ไฟฟ้าเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี
2. ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางเคมีในทางวิชาชีพของตนเองได้
3. มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางเคมี
4. มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
5. สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบทางเคมีได้  
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยเหมาะสมกับเวลาและผู้เรียน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ  พันธะเคมี ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  สารละลาย  กรด เบส เกลือ  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี 
 
The study and laboratory practice about  Atomic structure and Periodic table,  Chemical bond, Chemical reactions and Electrochemistry, Solution, Acid-Base, Salt, Rate of chemical reaction and  Chemical equilibrium.
 
1.30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- เช็คชื่อเข้าห้องเรียน
- ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- สอนออนไลน์ด้วยApplication ได้แก่ line, facebook, Microsoft Team 
- สอนด้วยMicrosoft Team ในหน่วยที่มีการเขียนสูตรเคมี
- สอนด้วยfacebook ในงานมอบหมาย
- สอนด้วยเทคนิค Inquiry ในอภิปรายผลการทดลอง
- การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การนำเสนอรายงาน
- ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- ประเมินจากคุณภาพงานมอบหมาย
และการนำเสนอ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
 
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัด
 
4.1  มีมารยาทสังคมที่ดี
4.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายให้ทำรายงาน
- ประเมินจากผลงานที่ทำและรายงานที่นำเสนอ 
 
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 - มอบหมายให้สืบค้นรายละเอียดการใช้ประโบชน์จากธาตุ และนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
 
- ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-
 
นักศึกษาศึกษาผลทำการทดลองจากเว๊ปไซต์
ตรวจผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) . ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCCC107 หลักเคมี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมใน/นอกชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1 ทดสอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานผลการทดลอง 9 17 70
3 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 ตลอดภาคการศึกษา 20
1.   กฤษณา  ชุติมา.  2539.  หลักเคมีทั่วไป  เล่ม 1.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.

ทบวงมหาวิทยาลัย.  2533.  เคมีเล่ม 1.  อักษรเจริญทัศน์,  กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย.  2533.  เคมีเล่ม 2.  อักษรเจริญทัศน์,  กรุงเทพฯ.  นภดล  ไชยคำ.  2543.  เคมี เล่ม 1.  แมคกรอ-ฮิล,  กรุงเทพฯ.  นภดล  ไชยคำ.  2543.  เคมี เล่ม 2.  แมคกรอ-ฮิล,  กรุงเทพฯ. ประเสริฐ  ศรีไพโรจน์.  2545.  เคมีพื้นฐานเล่ม 1.  สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์,  กรุงเทพฯ.

      8.    วิโรจน์  ปิยวัชรพันธุ์.  2541.  เคมีทั่วไป 1.  โอเดียนสโตร์,   กรุงเทพฯ.
      9.    ลัดดา  มีศุข.  2545.  เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.
     10.    สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2545.  เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์.  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,  กรุงเทพฯ
ค้นคว้าจากเว็ปไซต์
ตารางธาตุ
ตารางลอการิทึม
บทความและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับเคมีในด้านต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ  ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็น
ปัจจุบัน
1.1  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.2  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของหลักสูตร ภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหลักสูตร เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป