ปฏิบัติงานปรับแต่งเครื่องยนต์

Engine Tune-up Practice

เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวัดปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เครื่องวัดกำลังอัดการรั่วของกระบอกสูบ องศาการจุดระเบิด สามารถวิเคราะห์อุปกรณ์จุดระเบิด วิเคราะห์ข้อขัดข้องเครื่องยนต์ วิเคราะห์ไอเสีย เครื่องมือ วิเคราะห์ระบบจุดระเบิดด้วยออสซิลโลสโคปได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการทำงาน มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวัดปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เครื่องวัดกำลังอัดการรั่วของกระบอกสูบ องศาการจุดระเบิด วิเคราะห์อุปกรณ์จุดระเบิด วิเคราะห์ข้อขัดข้องเครื่องยนต์ วิเคราะห์ไอเสีย เครื่องมือ วิเคราะห์ระบบจุดระเบิดด้วยออสซิลโลสโคปได้
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในเวลาราชการในชั้นเรียน และเปิดช่องทางการให้คำปรึกษานอกเวลาเรียนผ่านทางโซเชียลมีเดีย - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
(1) แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
(2) สามารถจัดการและคิดแก้ปญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพครู
(3) แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อมและเป็นแบบอย่างที่ดี
(4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
(1) กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
(2) กำหนดให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่ม โดยฝึกให้รู้บทบาทและหน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่ม การเป็นสมชิกกลุ่ม การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(3) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชาในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
(4) จัดกิจกรรมส่งเสริมและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำความดี การทำประโยชน์และเสียสละแก่่ส่วนรวม
(1) ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
(2) ประเมินความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม การน่าเสนอรายงานหน้า ชั้นเรียน และการรับพิงความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน 
(3) ประเมินจากรายงานการกระทำทุจริตในการสอบ การมีมารยาททาง วิชาการ และการตรวจสอบการดัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น 
(4) ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ 
(1) มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่าง กว้างขวาง ลึกขึ้ง และเป็นระบบ 
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในลาชาวิชาชีพ เฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึง ความสำคัญชองงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 
(3) สามารถน่าหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้าม ศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
(1) เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อชองลักษณะรายวิชา โดย การวิเคราะห์และลังเคราะห์ตามสภาพจริง
(2) ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาด้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ ลังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่ เหมาะสม แล้วน่ามาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ 
(3) ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการน่าความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อน่ามา ประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการผึเกงานในสถานประกอบการ และ ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
(1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน 
(2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
(3) ประเมินผลจากการน่าเสนอโครงการ 
(4) ประเมินผลจากการผึเกงานในสถานประกอบการ (5) ประเมินผลจากการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพคร
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
(2) มีทักษะในการเป็นผู้นัาความรู้เพื่อการสืบด้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และ สรุปประเด็นชองสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 
(1) ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย'ฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ 
(2) ให้ผู้เรียนสืบด้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุป ประเด็นชองสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
(1) ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
(2) ประเมินผลจาการฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ 
(3) ประเมินผลจากการอธิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้ จากการสืบด้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
(1) แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ด็ สามารถรับรู้ความรู้สึกชองผู้อื่น และ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 
(2) แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้น่าและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่ม สร้างสรรคัในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 
(3) สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อชัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
(4) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการน่าความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
(1) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
(2) ส่งเสริมการน่าเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ 
(3) กำหนดบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแกไข ข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 
(4) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการบริการทางวิชาการต่อสังคม 
(1) ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมบุษยสัมพันธ์ที่ดี
(2) ประเมินผลการน่าเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ
(3) ประเมินผลการทำงานเป็นทีมตามที่ได้รับมอบหมาย
(4) ประเมินผลการดำเนินการบริการทางวิชาการต่อสังคม
(1) มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิ ตศาสตร์ ภาษาพ ูดและภาษาเชียน อันมีผลทำให้สามารถเช้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปิญหาได้อย่างรวดเร็ว
(2) สามารถใช้ดุลยพินิจในการลืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมาย และประยุกต้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแกิไฃป็ญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถสนทนา เชียน และน่าเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(1) ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
(2) วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร
(3) น่าเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูล ข่าวสาร
(2) ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย
(3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการน่าเสนอผลงาน
(4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
(1) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานใน วิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบ หลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
(2) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึง ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพชองกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี นวัตกรรม  
(1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
(2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
(3) สนับสนุนการเช้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
(4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
(5) สนับสนุนการจัดทำโครงงาน
(6) การ'ฝึกงานในสถานประกอบการ
(7) การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 
(1) ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
(2) ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน
(3) ประเมินผลจากโครงงานนักศึกษา
(4) ประเมินผลการฝึกงานในสถานประกอบการ
(5) ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพคร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-On) 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 3. ทักษะทางปัญญา 2. ความรู้ 1. คุณธรรม จริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานใน วิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบ หลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ (2) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึง ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพชองกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี นวัตกรรม (1) มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร ทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิ ตศาสตร์ ภาษาพ ูดและภาษาเชียน อันมีผลทำให้สามารถเช้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปิญหาได้อย่างรวดเร็ว (2) สามารถใช้ดุลยพินิจในการลืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมาย และประยุกต้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแกิไฃป็ญหาอย่างเหมาะสม (3) สามารถสนทนา เชียน และน่าเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ (1) แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ด็ สามารถรับรู้ความรู้สึกชองผู้อื่น และ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ( (2) แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้น่าและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่ม สร้างสรรคัในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม (3) สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อชัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ (4) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการน่าความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม (1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม (2) มีทักษะในการเป็นผู้นัาความรู้เพื่อการสืบด้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และ สรุปประเด็นชองสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (1) มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่าง กว้างขวาง ลึกขึ้ง และเป็นระบบ (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในลาชาวิชาชีพ เฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึง ความสำคัญชองงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ (3) สามารถน่าหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้าม ศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม (1) แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน (2) สามารถจัดการและคิดแก้ปญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพคร (3) แสดงออกซ ึ่งการมีวิน ัย ขยัน อดทน เสียสละ ต รงต ่อ เวล า ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี (4) เคารพสิทธิและรับพิงความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ ศักดี้ศรี,ของความ เป็นมนุษย์
1 TEDME923 ปฏิบัติงานปรับแต่งเครื่องยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลาง - สอบปลายภาค 9 17 30
2 การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมการอภิปรายและการเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เอกสารประกอบการสอนของ อาจารย์ก้องเกียรติ ธนะมิตร
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้   
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   ปรับปรุงเนื้อหาและเทคนิคการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในการประยุกต์ใช้ความรู้เหล่านั้นกับปัญหาต่าง ๆ