การบริหารทรัพยากรเพื่อธุรกิจเกษตร

Resource Management for Agri-business

1. อธิบายกระบวนการผลิตพืชและสัตว์ และมาตรฐานสินค้าที่ผลิตเพื่อธุรกิจ
2. อธิบายการจัดการการตลาด
3. อธิบายการจัดการการเงิน
4. อธิบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์
5. อธิบายนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกษตร
6. อธิบายจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม
นักศึกษาสามารถพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรเพื่อธุรกิจเกษตรเพื่อ ให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสถานการณ์ที่เหมาะสม
ศึกษาการบริหารจัดการทรัพยากรของธุรกิจเกษตรในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการจัดการการผลิต การจัดการการตลาด การจัดการการเงิน การจัดการทรัพยากรมนุษย์  ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกษตร ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาธุรกิจเกษตร จริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม
3.1 วันเสาร์  เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้องพัก อาคารงานวิทยาศาสตร์การอาหาร
     โทร...089-9399136
    3.2  e-mail : chamsupawadee@gmail.com ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1..6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
5.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. การสังเกต
2 .การนำเสนองาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้ 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1..6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ 3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 MSCGT004 การบริหารทรัพยากรเพื่อธุรกิจเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 8 30%
2 2.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 8, และ 16 20%
3 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 17 10%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1 - 17 5%
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8,15,16 5%
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2555. แนวการศึกษา วิชาการพัฒนาองค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 52.
http://www.k-station.doae.go.th/doc/AEK_102.pdf,  5 กรกฎาคม 2559.
ดนัย  บุณยเกียรติ และนิธิยา  รัตนาปนนท์.  2548.  การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.  236 น.
ฐิติรัตน์ มีมาก, ฉัตยาพร เสมอใจ และคมกฤช ปิติฤกษ์. 2552. การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ :
ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ธวัชชัย  รัตน์ชเลส  วิลาวัณย์ คำปวน และธีรนุช เจริญกิจ.  2556. มะม่วง การผลิตและเทคโนโลยี
หลังการเก็บเกี่ยว. ศูนย์นวัตกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,
เชียงใหม่.  836 หน้า.
ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. 2556. เทคโนโลยีผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 น.
วิไล รังสาดทอง. 2552. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สถาบันพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 500 น.
John, P.J. and Jacob,  P.  2008. A Handbook on Postharvest Management of Fruits and
Vegetables. Daya Publishing House, Delhi.  147p.
Fellows, P. J.  2000.  Food Processing Technology Principles and Practice. 2nd Ed. CRC Press LLC, New York. 608 p.
Fellows, P.J. 2009.Food Processing Technology. 3rd edition. Cambridge: Woodhead Publishing.
Robert, C.W.  1994.  Minimally Processed Refrigerated Fruits and Vegetables.  Chapman &
Hall One Penn Plaza, New York.  368p.
http://www.cpcrop.com/tabid/69/Default.aspx
แหล่งเงินทุนที่ควรรู้. www.incQuity.com
ธุรกิจเบื้องต้น. www.lpn.nfe.go.th.
เอกสารด้านธุรกิจการเกษตร การลงทุนด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร
-