ความคิดสร้างสรรค์

Creative Thinking

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิค และกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ฝึกคิดแบบต่างๆ การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิค และกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ฝึกคิดแบบต่างๆ การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
           1.1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม
           1.1.2   จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
           1.1.3   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
           1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลจากความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมภายในห้องเรียน
2.1.1 ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  การนำเสนอรายงาน มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1    สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  รายงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถสร้างงานสร้างสรรค์  โดยนำหลักการต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในงานได้  ตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติคิดสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบ
3.3.1   วัดผลจากการประเมินผลงานการคิดสร้างสรรค์
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมในการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงาน
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานค้นคว้า และให้คำสำคัญที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.3 2.1 – 2.3 3.1-3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 , 17 15%, 15%
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงเปรียบเทียบ.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2544.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงประยุกต์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2545.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงกลยุทธ์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2546.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงอนาคต.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2546.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงสังเคราะห์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2544.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงมโนทัศน์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2545.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงวิพากษ์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2545.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  ลายแทงนักคิด.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2545.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงสร้างสรรค์.  กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย,  2545.
เกศินี  สุทธาวรางกูล.  และคณะ.  หมวก 6 ใบ  คิด 6  แบบ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ชานซาลา,  2542.
ฐานิศวร์  เจริญพงศ์.  สรรพสาระจากทฤษฎีสถาปัตยกรรมตะวันตก.  กรุงเทพฯ  : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2545.
ณัฐพงษ์  เกศมาริษ และธนิกานต์  มาฆะศิรานนท์.  แปล.  เทคนิคการระดมสมอง.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Be Bright Book,  2545.
ดลชัย  บุณยะรัตเวช.  คมดีไซน์.  กรุงเทพฯ  : บริษัทเนชั่น  มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด(มหาชน),  2548.
ทัศนา  แขมณี.  วิทยาการด้านการคิด.  กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์  จำกัด,  2544.
ทวีเดช  จิ๋วบาง.  ความคิดสร้างสรรค์ศิลปะ.  กรุงเทพฯ : โอ.เอส.  พริ้นติ้ง  เฮ้าส์,  2537.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ชานซาลา,  2542.
ธีระ  สุมิตร.  แปล.  รอให้ถึงอนุบาลก็สายเสียแล้ว.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน,  2545.
นวลน้อย  บุญวงษ์.  หลักการออกแบบ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2542.
ปรีชญา  สิทธิพันธุ์.  เอกสารประกอบการศึกษา. Creative & Critical Thinking.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  : เอกสารอัดสำเนา,  2544.
พรเทพ  เลิศเทวศิริ.  Design  Education 1.  รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ.   กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2545.
มาลินี  ศรีสุวรรณ ,   เอกสารประกอบการสอนวิชา  การออกแบบสถาปัตยกรรม , 2540 ,   มหาวิทยาลัยศิลปากร , มปท.
ยุดา  รักไทย  และธนิกานต์  มาฆะศิรานนท์.  แปล.  คิดแนวข้าง.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Be Bright Book,  2545.
วิรุณ  ตั้งเจริญ.  ประวัติศาสตร์และการออกแบบ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อีแอนด์ไอคิว,  2544.
สมเกียรติ   ตั้งนโม. “คุณสมบัติของผู้มีความคิดสร้างสรรค์” (Online). Available : 
               htpp.//www.geocities.com/midnightuniver/. (วันที่สืบค้น 9 มกราคม 2549)
อารี  พันธ์มณี.  การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา,  2542.
อารี  พันธ์มณี.  ฝึกให้คิดเป็น  คิดให้สร้างสรรค์.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ใยไหม  เอดดูเคท,  2545.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน โดยได้จากการให้คำสำคัญแก่นักศึกษา เพื่อฝึกการสืบค้นในเว๊บไซต์ และสามารถนำมาอ้างอิงในการค้นคว้าหรือการทำรายงานได้
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านคำถามเพื่อการปรับปรุงรายวิชา

 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
                3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
           4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
      5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
         5.3 ปรับกลยุทธ์การสอน เพิ่มการศึกษาดูงาน และส่งเสริมการประกวดแบบ