สถิติพื้นฐาน

Elementary Statistics

จุดมุ่งหมายของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
1.2 เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น
1.3 เข้าใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
1.4 เข้าใจหลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน 1.5 เข้าใจหลักการทดสอบไคสแควร์
1.6 เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่างๆ
1.7 ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา: เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ทางสถิติเพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ตลอดจนฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ  มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานสถิติ   ความน่าจะเป็น   การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่อง   การประมาณค่า   การทดสอบสมมติฐานและการทดสอบไคสแควร์
Data, statistical methodology, measures of central tendency, measures of dispersion, probability, discrete distribution and continuous distribution, estimation, hypothesis test and chi square test
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ คือ วันพุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้อง ศท.304
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-  บรรยายโดยการสอดแทรกจิตสำนึกสาธารณะ เช่น เรื่องขยะในห้องเรียน เป็นต้น
-  การสอนแบบตั้งคำถาม
-  การสอนแบบบรรยาย
-  สังเกตพฤติกรรม
 
-  สังเกตพฤติกรรม
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  แบบประเมิน
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-  การสอนแบบการตั้งคำถาม
-  การสอนแบบบรรยาย 
-  การสอนแบบกรณีศึกษา
- งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกตพฤติกรรม
-  ข้อสอบอัตนัย
-  ข้อสอบปรนัย
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  การสอนแบบการตั้งคำถาม
-  การสอนแบบบรรยาย 
-  การสอนแบบกรณีศึกษา
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
-  ข้อสอบอัตนัย
-  ข้อสอบปรนัย
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-  การสอนแบบบรรยาย
-  การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่
-  การสอนแบบตั้งคำถาม
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
-  แบบประเมิน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่
-  ใช้  Power point
-  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
-  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 22000001 สถิติพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 4.1, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 3.1, 3.2 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 3,6,12,15 40%
3 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 25%
4 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 18 25%
แผนกคณิตศาสตร์.  2554. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสถิติ  แผนกคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
     ชัชวาล  เรืองประพันธ์ (2544). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ 
             มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
     ประไพศรี  สุทัศน์ ณ อยุธยา และ พงศ์ชนัน  เหลืองไพบูลย์ (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
         บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด กรุงเทพฯ.
     สายชล  สินสมบูรณ์ทอง (2550).สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติประยุกต์ 
             คณะวิทยาศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
     Weiss, N.A. (Neil A.) (2012). Introductory Statistics 9th ed. Pearson education Inc. Boston.
เอกสาร / ตำรา / หนังสือ / แหล่งออนไลน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถิติ
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
-  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
-  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่องจากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาเช่นตรวจสอบข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา