การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

Timber and Steel Design

1.1 เพื่อให้เข้าใจหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
1.2 เพื่อให้สามารถคำนวณ ออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์ อาคารรับแรงดัดและแรงในแนวแกนรวมกัน คานประกอบขนาดใหญ่ออกแบบรอต่อ ออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง
1.3 เพื่อให้มีคุณธรรมและจริยธรรมในการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อม ในการนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้เป็นพื้นฐานการออกแบบโครงสร้างไม้เหล็ก
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก การออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์อาคารรับแรงดัดและแรงในแนวแกนรวมกัน คานประกอบขนาดใหญ่การออกแบบรอยต่อ การออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง
จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

                             7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ Wed-board การขายของผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง อภิปรายกลุ่ม

                  3. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
                 1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
                 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                 3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                 4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
                  1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
                  2. ออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์อาคารรับแรงดัดและแรงใน แนวแกนรวมกัน คานประกอบขนาดใหญ่
                  3. ออกแบบรอยต่อ การออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง
                  4. เห็นความสำคัญของวิชาการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
                    1. บรรยาย ยกตัวอย่าง ร่วมกับการสอนแบบสื่อสาร สองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
                    2. เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้าง ความเข้าใจ
                       1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
                       2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
                      1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
                       2. อภิปรายกลุ่ม
                       3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
                      4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
                  1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                  2. วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
                  3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
                      1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                      2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
                      3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กำหนดเวลา
                     1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                     2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
                     3. การนำเสนอรายงาน
                      1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
                      2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                      3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
                     1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
                     2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน
                     3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
                     4. พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเอง
                     5. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                     1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
                     2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                     1. ประเมินจากรายงาน การจัดทำแผนการสอนและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                     2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 33011311 การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 9 35%
2 สอบปลายภาค 17 40%
3 งานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม.ในกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
ศ.ดร.วินิต ช่อวิเชียร.การออกแบบโครงสร้างไม้. กรุงเทพ: 12/1 ซอยทองหล่อ ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร , 2553

      
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

                  2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                   1. การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
                   2. ผลการเรียนของนักศึกษา
                   3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                     1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                      1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
                      2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
                      1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                      2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ