การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก

Incubation and Hatchery Management

1.1 ให้ความรู้ทางด้านการฟักไข่สัตว์ปีก เข้าใจและปฏิบัติได้เกี่ยวกับการฟักไข่สัตว์ปีกและการจัดการโรงฟักไข่
1.2 สามรถปฏิบัติงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้
1.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อสังคม
1.4 มีทัศนคติและเจตนคติที่ดีต่อวิชาชีพการฟักไข่สัตว์ปีก
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกในปัจจุบันมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ซึ่งก้าวหน้ากว่าการเรียนการสอนตามหลักสูตรเก่า ดังนั้นนักศึกษาในปัจจุบันนอกจากต้องมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสัตว์ปีกแล้ว จะต้องตามทันวิวัฒนาการใหม่ๆที่เกิดขึ้นในวงการการผลิตสัตว์ปีกโดยเฉพาะการฟักไข่ รู้และเข้าใจผลกระทบทั้งโดยตรงและผลกระทบทางอ้อม อันเกิดจากการฟักไข่ที่ใช้วิวัฒนาการและเทคโนโลยีใหม่เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มผลผลิต,หาทางป้องกันและแก้ปัญหาต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฟักไข่สัตว์ปีกในธรรมชาติ การเจริญเติบโตของตัวอ่อนสัตว์ปีก โรงฟักและตู้ฟักไข่ การฟักไข่และการจัดการโรงฟักในระบบอุตสาหกรรม การสุขาภิบาลโรงฟักแลพตู้ฟักไข่ การจัดการของเสีย การตลาดและการจำหน่าย
Study on practice on natural poultry hatching, growth of embryo, hatchery and incubators, egg hatching and business management, sanitation of hatchery and incubator, waste management, market and distribution
จัดให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแกนักศึกษาสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
    3.1 Online : ช่องทาง โปรแกรม MS Teams 
    3.2 e-mail: usaneeporn_s@hotmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ ผ่านโปรแกรม MS teams 
2. กระบวนการสืบค้นเอกสารผ่านระบบออนไลน์ 
3. การสอนปฏิบัติการ โดยการให้ดูคลิป youtube และให้นักศึกษาบันทึกคลิปการฝึกปฏิบัติของตนเองส่งผ่านทางช่องทาง online
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง ผ่านระบบออนไลน์
2.การสังเกต การเข้าชั้นเรียน education team 
3.การนำเสนองาน และการส่งคลิปการปฏิบัติการ
4.ข้อสอบอัตนัยออนไลน์
5.ข้อสอบปรนัย
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ ผ่านโปรแกรม MS teams 
2. กระบวนการสืบค้นเอกสารผ่านระบบออนไลน์ 
3. การสอนปฏิบัติการ โดยการให้ดูคลิป youtube และให้นักศึกษาบันทึกคลิปการฝึกปฏิบัติของตนเองส่งผ่านทางช่องทาง online
5.กระบวนการสืบค้น
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ ผ่านโปรแกรม MS teams 
2. การสอนปฏิบัติการ โดยการให้ดูคลิป youtube และให้นักศึกษาบันทึกคลิปการฝึกปฏิบัติของตนเองส่งผ่านทางช่องทาง online
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การเขียนบันทึก
4.1ภาวะผู้นำหมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ ผ่านโปรแกรม MS teams 
2. การสอนปฏิบัติการ โดยการให้ดูคลิป youtube และให้นักศึกษาบันทึกคลิปการฝึกปฏิบัติของตนเองส่งผ่านทางช่องทาง online
 
1.การนำเสนองานผ่าน ระบบ MS teams
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การคำนวณอย่างง่าย
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ
1.การนำเสนองาน
2.รายงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4.1ภาวะผู้นำหมายถึง 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 BSCAG232 การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 7 8 15 17 50%
2 1.1, 1.2, 2.1, 2.2 4.1, 4.2 5.1,5.2 การค้นคว้า นำเสนอผลงาo การทำงานกลุ่มและผลงาน สรุปและวิเคราะห์ผลงานกลุ่, การส่งงานตามมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1, 1..2 4.1, 4.2 5.1 การเข้าชั้นเรียน -การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ มทร.ล้านนาพิษณุโลก ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กรุงเทพโปรดิวส์.2542. การจัดการโรงฟักไข่. เอกสารทางวิชาการบริษัทกรุงเทพโปรดิวส์,กรุงเทพฯ. 20หน้า
2. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล.2529. โรคสัตว์ปีก.ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,ขอนแก่น,279 หน้า.
3. นที นิลนพคุณ.2529. คัพภะวิทยาทางสัตวแพทย์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.245 หน้า.
4. นุกูล เจนประจักษ์.2543. การฟักไข่.โรงพิมพ์เพทพริ้นติ้งเซ็นเตอร์,กรุงเทพฯ.119 หน้า.
5. เบทาโกร.2542. การจัดการโรงฟักไข่. เอกสารทางวิชาการชุดที่7 บริษัทเบทาโกรจำกัด,กรุงเทพฯ.15หน้า.
6. บุญเสริม ชีวะอิสระกุลและบุญล้อม ชีวะอิสระกุล.2542. พื้นฐานสัตวศาสตร์.ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่.186 หน้า.
7. ปฐม เลาหเกษตร.2540. การเลี้ยงสัตว์ปีก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ. 317 หน้า.
8. วรวิทย์ วนิชาภิชาติ.2531. ไข่และการฟักไข่. ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.240 หน้า.
9. สุชน ตั้งทวีวัฒน์.2542. การจัดการผลิตสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่.287หน้า.
10.สุวรรณ เกษตรสุวรรณ.2529. ไข่และเนื้อไก่. ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.382 หน้า.
11.สุวรรณ เกษตรสุวรรณ,วรรณดา สุจริต,ประทีป ราชแพทยาคม,สุภาพร อิสริโยดม,กระจ่าง วิสุทธารมณ์ และบุญธง ศิริพานิช.การเลี้ยงไก่.ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.337 หน้า.
12.อนุชา แสงโสภณ.2539.การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ. 126หน้า.
13.อาวุธ ตันโช.2538.การผลิตสัตว์ปีก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ.256 หน้า.
14.Blakley,J. and D.H.Bade.1979.The Science of Animal Husbandry.Reston Publishing Company Inc.Reston, Virginis.
15.J. Wiseman, P.C. Gamsworthy.1999. Recent Developments in Poultry Nutrition 2. Nottingham University Press, Nottingham.342 p.
16. Jull,M.A.Poultry Husbandry. TATA McGraw Hill Publishing Company Ltd. New Delhi.
17. M.Larbier and B.L.Chereq.1994. Nutrition and Feeding of Poultry Nottingham University Press, Nottingham.305 p.
วารสารของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-VCD การจัดการโรงฟักไข่ของบริษัทเอกชน
-คู่มือการจัดการฟาร์มไก่เนื้อและฟาร์มไก่พันธุ์ของบริษัทที่ผลิตสัตว์ปีกครบวงจรในประเทศไทย
-website ที่เกี่ยวกับการฟักไข่, การเจริญของตัวอ่อนไก่และสัตว์ปีกอื่น ๆ ที่สำคัญ
-website ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก
-website ที่เกี่ยวกับการฟักไข่, การเจริญของตัวอ่อนไก่และสัตว์ปีกอื่น ๆ ที่สำคัญ
-website ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- การสนทนากลุ่ม, เดี่ยว ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
- แบบประเมินผู้สอน
- ผลการสอบ
- ผลงาน จากเอกสารรายงานและการนำเสนอ
- ผลงานจากการปฏิบัติงาน และการอัพเดทผ่านสื่อออนไลน์
- ความสนใจในการเข้าคลาสรูม
- คำตอบและข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากการถามตอบปากเปล่า ผ่าน vdo
- ทวนสอบผลประเมินการสอน
- จัดวิจัยทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
- สัมมนาจัดการเรียนการสอน
- สุ่มการตรวจสอบข้อสอบ, รายงาน, วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน