แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน

Interior Architectural Concepts

1. รู้และเข้าใจความหมาย แนวคิด ทฤษฎีและปรัชญาในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
2. รู้และเข้าใจกระบวนการพัฒนาแนวความคิดทางการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
3. เห็นประโยชน์ของกระบวนการพัฒนาแนวความคิดทางการออกแบบเพื่อนำเอา
แนวความคิดไปพัฒนาสู่การออกแบบต่อไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์การออกแบบแนวความคิด เพื่อนำไปสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎีและปรัชญาในการออกแบบ สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน กระบวนการพัฒนาแนวความคิดทางการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น และสอดแทรกความรู้และการมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา และสอดแทรกประเด็นเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.3.1 ประเมินผลจากการความขยัน อดทนจากงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 ประเมินผลจากการมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
การส่งงานที่ตรงต่อเวลา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา ที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายความรู้ด้านแนวความคิด การระดมสมอง องค์ประกอบของแนวความคิด และกระบวนการสร้างแนวความคิด พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การระดมสมองไปสู่ความคิดที่นำมาใช้เพื่องานออกแบบ การพัฒนาความคิด เครื่องมือที่นำไปสู่แนวความคิดในการออกแบบ
2.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวคิด การนำเสนอข้อมูล การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิดและมอบหมายให้นักศึกษาการนำเสนอรายงาน
2.3.1 ประเมินผลจากการทดสอบย่อย
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิด
2.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวย่างกรณีศึกษา กำหนดให้นักศึกษาระดมสมอง วิเคราะห์แนวความคิด สืบค้นข้อมูล
3.2.2 นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่มาของแนวความคิด กระบวนการคิดตามองค์ประกอบ โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบย่อยที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎีและการระดมสมองไปสู่แนวความคิดในผลงานของนักศึกษา
3.3.2 ประเมินผลงานการนำเสนองานเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 การมอบหมายงานกลุ่มเพื่อการประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่นขณะนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการนำเสนองานหรือการเขียนเพื่อบรรยายแนวความคิดของตนเอง
 5.1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการศึกษา สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ระดมสมอง แนวความคิดในการออกแบบผ่านเครื่องมือและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลงานการ้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.3.2 ประเมินผลจากการค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการสื่อสารที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BARIA108 แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม 1.3.1 ประเมินผลจากการความขยัน อดทนจากงานที่ได้รับมอบหมาย 1.3.2 ประเมินผลจากการมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม การส่งงานที่ตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา ที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ประเมินผลจากการทดสอบย่อย 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิด 2.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 50
3 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจาก การประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 3.3.1 ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบย่อยที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎีและการระดมสมองไปสู่แนวความคิดในผลงานของนักศึกษา 3.3.2 ประเมินผลงานการนำเสนองานเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น -เนื้อหาในสัปดาห์ 6-8, 13-16 20
4 4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการน าเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ -เนื้อหาในสัปดาห์ 6-8, 13-16 10
5 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการนำเสนองานหรือการเขียนเพื่อบรรยายแนวความคิดของตนเอง 5.3.1 ประเมินจากผลงานการวิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 5.3.2 ประเมินผลจากการค้นคว้างานที่ต้อง อาศัยการประมวลผล นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการสื่อสารที่เหมาะสม -เนื้อหาในสัปดาห์ 6-8, 13-16 10
1. มโนทัศน์สถาปัตยกรรม ( Concept in Architecture ) อ.เลอสม สถาปิตานนท์
2. เอกพล สิระชัยนันท์. (2555). สถาปัตยกรรม: ความคิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ บางกองพริ้น บ.วี พลัส กรุ๊ป (ไทยแลนด์).
3. Basics Interior Design 01: Retail Design. Lynne Mesher : Singapore.
4. Designing Commercial Interiors. Christine M. Piotrowski, Elizabeth A. Rogers, IIDA : Canada.
5. Designing Interior Architecture: Concept, Typology, Material, Construction. Sylvia Leydecker : Germany.
6. Interior Design: Theory and Process by Anthony Sully (2012)
7. ผุสดี ทิพทัส. สถาปนิกสยาม : พื้นฐาน บทบาท ผลงานและแนวคิด พ.ศ. 2475-2537. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539.
8. ทิพย์สุดา ปทุมานนท์. ปรากฏการณ์ศาสตร์ในในสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
9. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. หนังสือชุด “ผู้ชนะ 10 คิด”. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัคเซส มีเดีย จำกัด, 2545.
10. ทิพย์สุดา ปทุมานนท์. สถาปัตยกรรมกังสดาลแห่งความคิด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
11. ธีรยุทธ บุญมี. โลก Modern & Post Modren. พิมพ์ครั้งที่ 4. 2550. กรุงเทพฯ : สายธาร.
12. เซียอูดิน ซาร์ดาร์, ริชาร์ด แอปพิกนาเนซี, คริส การ์แรตต์, แพทริค เคอร์รี, วรนุช จรุงรัตนาพงศ์,นพพร ประชากุล และ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. สู่โลกหลังสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2548.
13. เลอสม สถาปิตานนท์. มิติ สถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัทลายเส้น พับบลิชชิ่ง จำกัด.
14. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. การจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อ การออกแบบงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
15. เอกพล สิระชัยนันท์. สถาปัตยกรรม : ความคิด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ: สนพ.บางกอกพริ้น บ.วี พลัส กรุ๊ป (ไทยแลนด์).
16. Brian Edward. Understanding Architecture through Drawing. Second Edition 2008. The Cromwell Press, Trowbridge, Wiltshire, UK.
17. Bhaskaran Lakshmi. Designs of The Times. Singapore: Rotovision SA, 2005.
18. Bowers John. Introduction to Two-Dimensional design: Understanding Form and Function. Canada: John Wiley & Sons, 1999.
19. Byars Mel and Despond Barre Arlette. 100 Designs/ 100 Years. Singapore: Rotovision SA, 1999.
20. James C. Snyder and Anthony J. Catanee. Introduction to architecture. McGraw-Hill. Inc.: 1979.
21. Hauffe Thomas. Design: A Concise History. London: Laurence King, 1998.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น https://www.englishclub.com/vocabulary/british-american.htm
http://www.majorhospitalfoundation.org/pdfs/Effects%20of%20Interior%20Design
%20on%20Wellness.pdf
http://www.affective-science.org/pubs/2000/PietromonacoFB2000.pdf
http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/world4.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ