การบัญชีชั้นกลาง 1

Intermediate Accounting 1

         1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการทางบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับ “สินทรัพย์”          1.2 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์รายการ การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ ตามหลักทางบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินในปัจจุบัน          1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำหลักการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ไปใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการบัญชีสินทรัพย์ได้          1.4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
การพัฒนาความสามารถของนักศึกษา ในการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินในปัจจุบันเฉพาะฉบับที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ชนิดต่าง ๆ โดยละเอียด เช่น เงินสดและการจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้และตั๋วเงินรับรวมทั้งการจัดหาเงินโดยใช้บัญชีลูกหนี้และตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เป็นต้น โดยรวมถึงการจำแนกประเภทสินทรัพย์ การรับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์ การตีราคา ต้นทุนการกู้ยืม การรับรู้รายจ่ายที่เกิดขึ้นหลังการได้สินทรัพย์มาเป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย หรือการจัดแบ่งส่วนสินทรัพย์เป็นต้นทุนและค่าใช้จ่าย ตามหลักการบัญชี การด้อยค่าของสินทรัพย์ ตลอดจนการแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินทรัพย์แต่ละชนิดในงบแสดงฐานะการเงิน
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) มีความรู้และความเข้าใจในจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
2) ตระหนักถึงคุณธรรมด้าน ความซื่อสัตย์สุจริต
3) สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และ ข้อตกลงในการเรียน
4) สามารถทำงานที่มอบหมายและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด
1) สอดแทรกเรื่องบทบาทของวิชาชีพการบัญชีต่อส่วนรวม จรรยาบรรณวิชาชีพและความซื่อสัตย์ ระหว่างการเรียนการสอนในรายวิชา โดยการบรรยายและยกกรณีศึกษาจากสถานการณ์ปัจจุบัน
2) ชี้แจงระเบียบของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การแต่งกาย วินัยนักศึกษา การสอบ และกำหนดข้อตกลงในการเรียน เช่น การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน และวินัยในชั้นเรียน
1) ประเมินผลการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเรียนตลอดภาคการศึกษา
2) ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทของวิชาชีพการบัญชีต่อส่วนรวม จรรยาบรรณวิชาชีพและความซื่อสัตย์ โดยใช้กรณีศึกษา
1) ความรู้และความเข้าใจในหลักการเกี่ยวกับการบัญชีสินทรัพย์
2) สามารถวิเคราะห์รายการ บันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ ตามหลักทางบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินในปัจจุบัน
3) ความรู้อื่นที่สัมพันธ์กัน ได้แก่ ประมวลรัษฎากร
1) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
2) แบบฝึกหัด และกรณีศึกษา เกี่ยวกับการวิเคราะห์รายการและบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
สามารถประยุกต์นำหลักการบัญชี ไปใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับบัญชีสินทรัพย์ได้
บรรยาย นักศึกษาฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา และร่วมกันอภิปราย
1) ทดสอบย่อย
 2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
มอบหมายงานแบบกลุ่มย่อย เป็นกรณีศึกษาตัวอย่าง
1) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม
 2) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
สามารถนำวิธีวิเคราะห์เชิงตัวเลข ประยุกต์ในกรณีศึกษาทางบัญชี และเสนอวิธีการแก้ไข
1) บรรยาย นักศึกษาฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา และร่วมกันอภิปราย
2) นักศึกษาได้เรียนรู้เพิ่มเติมจากสื่อทางอินเตอร์เน็ท
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 41 2 3
1 11011201 การบัญชีชั้นกลาง 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2 การทดสอบย่อย 6,12 30%
2 3 การสอบกลางภาค 8 25%
3 1,4 กรณีศึกษา 16 10%
4 1 การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนตาม ระเบียบและข้อตกลงในการเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
การบัญชีขั้นกลาง 1 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยพรัตน์  อิ่มพิทักษ์
มาตรฐานการรายงานการเงินที่เกี่ยวข้อง
การบัญชีชั้นกลาง 1 โดย รศ.กอบแก้ว  รัตนอุบล
การบัญชีชั้นกลาง 1 โดย ดร.พรทิพย์  ชุ่มเมืองปัก
เว็ปไซด์ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.fap.or.th
เว็ปไซด์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th
ใช้แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัย และ     สอบถามจากผู้เรียน
ใช้การประเมินจากผลการสอบของนักศึกษา ทั้งในการทดสอบย่อย ทดสอบประจำภาคเรียน และระดับผลการเรียนของนักศึกษา
วิเคราะห์ผลการสอนจาก แบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา และหาแนวทางการปรับปรุงจุดบกพร่องตามผลประเมิน
สรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากผลการสอบ การทำกรณีศึกษา ปรับปรุงการสอนให้ดีขึ้น เน้นในเรื่องที่นักศึกษาขาดทักษะ โดยการเพิ่มแบบฝึกหัด
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
นำผลการประเมินและการทบทวนผลการเรียนในรายวิชา มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลในด้านอาจารย์ผู้สอน การจัดตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนและปรับปรุงเนื้อหา มาตรฐานข้อสอบ