เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช

Plant Propagation Technology

             1.1) เพื่อให้รู้ถึงพื้นฐานของการขยายพันธุ์พืช
            1.2) เพื่อให้เข้าใจถึงการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีอาศัยเพศ
            1.3)เพื่อให้สามารถปฏิบัติการการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีอาศัยเพศในขั้นตอนต่างๆ
            1.4) เพื่อให้เข้าใจถึงการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศ
            1.5) เพื่อให้สามารถปฏิบัติการการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การตอน ปักชำ ติดตา ต่อกิ่ง ทาบกิ่ง
            1.6) เพื่อให้เข้าใจถึงการเลือกใช้วิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับชนิดของพืช สภาพแวดล้อม และวัตถุประสงค์ของการทดลอง
             1.  เพื่อให้นักศึกษาสาขาพืชศาสตร์มีความรู้พื้นฐานด้านการขยายพันธุ์พืชในรูปแบบต่างๆ
            2. เพื่อให้นักศึกษาสาขาพืชศาสตร์มีความสามารถในการนำเอาวิธีการขยายพันธุ์ไปใช้ขยายพันธุ์พืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมในสภาวการณ์ต่างๆ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชทั้งรูปแบบและขั้นตอนของการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศตั้งแต่การเกิดเมล็ด การเพาะ การย้ายกล้า การปลูก ตลอดจนการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศทั้งการชักนำให้เกิดราก อันได้แก่การตอน การปักชำในรูปแบบต่างๆ การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่ต้องกระตุ้นให้เกิดรอยต่อเชื่อมระหว่างต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี อันได้แก่ การติดตา ต่อกิ่ง ทาบกิ่งในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนเข้าใจในหลักการ และประยุกต์ของการใช้เครื่องไม้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนสารเคมี ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืช
5
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพทางการเกษตร  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
            - ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
            - มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
            - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ    
  ความสำคัญ
            - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
            - เคารพกฎระเบียบและข้องบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
            - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ     
- บรรยาย กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นกับหลักการการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่างๆ
            - อภิปรายกลุ่ม
            - กำหนดให้นักศึกษามีการปฏิบัติการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่างๆ
            - พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
            - ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
            มีความรู้และสามารถในการปฏิบัติการขยายพันธุ์โดยการขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืชได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง
บรรยาย อภิปราย ปฏิบัติการทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานและมอบหมาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
            - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
            - ประเมินการนำเสนองานมอบหมาย
พัฒนาความสามารถในการคิดและทักษะในการขยายพันธุ์พืชอย่างมีระบบ สอดคล้องกับชนิดของพืช สภาวะแวดล้อม และเศรษฐกิจ
- การมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติการขยายพันธุ์พืชภายใต้สภาวะต่างๆ  และนำเสนอผลการศึกษา
            -แบ่งกลุ่มงาน
- ประเมินผลงานที่มอบหมาย
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
            - พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
            - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
            - มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
            - การนำเสนอรายงาน
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
            - รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
            - ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
            - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้น
  เรียน
            - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ความสำเร็จและล้มเหลวของการขยายพันธุ์พืช
            - พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
- ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์
            - ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
            - นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
            - การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG106 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 2 3 4 จิตพิสัย คะแนนเก็บ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 100
1. นันทิยา  วรรธนะภูติ 2542 การขยายพันธุ์พืช พิมพ์ครั้งที่ 3  โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์  กรุงเทพมหานคร  448 หน้า
2. สนั่น  ขำเลิศ  2522 หลักและวิธีการขยายพันธุ์พืช  ภาควิชาพืชสวน  คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กรุงเทพมหานคร 374 หน้า
3. สนั่น  ขำเลิศ  2541 หลักและวิธีปฏิบัติการขยายพันธุ์พืช  สำนักพิมพ์รั้วเขียว  กรุงเทพมหานคร  207 หน้า
4. Hartmann,H.T.; Kester,D.E.; Davies,F.T.,Jr. and R.L.Geneve  1997  Plant  Propagation  Principles  and  Practices  (6th edition)  PrenticeHall,Inc. U.S.A. 772 p.
1. คำนูณ  กาญจนภูมิ  2542  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  กรุงเทพมหานคร  162 หน้า
2. พีรเดช  ทองอำไพ  2529  ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย  ห้างหุ้นส่วนจำกัดไดนามิคการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  196 หน้า
3. มงคล  แซ่หลิม  2536 ปฏิบัติการเทคนิคการขยายพันธุ์ไม้ผล ใน เทคนิคการขยายพันธุ์พืช  ภาควิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  สงขลา
4. รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ  2540  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช:หลักการและเทคนิค  สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตบางเขน  กรุงเทพมหานคร  219 หน้า
5. อรดี  สหวัชรินทร์ 2539 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อักษรสยามการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร 49 หน้า 
1. ประทีป  กุณาศล 2539 ขยายพันธุ์ไม้ผลด้วยวิธีปักชำในแปลงพ่นหมอก  เคหการเกษตร 20: 51
2. ยิ่งยง  ไพสุขศานติวัฒนา  2539  การตัดชำและการตอน ใน    เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการขยายพันธุ์พืช หน้า37  ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน นครปฐม
3. สุรีรัตน์  ทวนทวี และ เมืองทอง  ทวนทวี  2539  ขยายพันธุ์พืชโดยรูปภาพ  ห้างหุ้นส่วนจำกัดไพศาลการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  92 หน้า
4. อารีย์  วรัญญูวัฒก์  2541  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช  โรงพิมพ์อสรรค์  กรุงเทพมหานคร 133 หน้า
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ซึ่งแบบประเมินนี้จัดทำโดยสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินการสอนของอาจารย์และเนื้อหาในรายวิชา
- การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีดังนี้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากการประเมินการสอนในหัวข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ให้กับอาจารย์ผู้สอน