การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางกราฟิกส์

Use of Graphics Package Software

1. มีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการพื้นฐานของระบบภาพ
2. มีความรู้ความเข้าใจแนวความคิดการนาโปรแกรมสำเร็จรูปกราฟิกส์ไปใช้งาน
3. มีความรู้ความเข้าใจการใช้งานโปรแกรม
4. มีความรู้ความเข้าใจการทำงานของภาพกราฟิกส์
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาโปรแกรมกราฟิกส์ที่ใช้ในการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ การเพิ่มแสงสี แบบลายต่างๆ ให้กับภาพ การเคลื่อนไหวของภาพ โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร์ 2 มิติ ในระดับพื้นฐาน การนำเสนอภาพเคลื่อนไหวบนเว็บ
1 ชม./สัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีมีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
 เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทาดี ทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม - ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรมกราฟิกส์ที่ใช้ในการสร้างภาพ ตกแต่งภาพ การเพิ่มแสงสี แบบลายต่างๆ ให้กับภาพ การเคลื่อนไหวของภาพ โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร์ 2 มิติ ในระดับพื้นฐาน การนำเสนอภาพเคลื่อนไหวบนเว็บ
บรรยาย กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยวิเคราะห์ระบบจากกรณีศึกษาจริง ให้นักศึกษาทำรายงานและการนำเสนอ
- Workshop, Final Project - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ - นำเสนอผลการทำงาน Workshop, Final Project
มีวิจารณญาณในการวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการระบบสารสนเทศในธุรกิจ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรสารสนเทศในธุรกิจ แหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้แนวโน้มในอนาคตของระบบสารสนเทศ ได้อย่างเหมาะสม
บรรยาย กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยวิเคราะห์ระบบจากกรณีศึกษาจริง
นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา และ การอภิปรายกลุ่ม
สามารถสื่อสารให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม และมีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม สามารถทาานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยการวิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ และให้นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ต่อนักศึกษาในชั้นเรียน อาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษา
นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา และตอบข้อซักถามของอาจารย์ และประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจากัด เหตุผล การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 ุ6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8
1 12033109 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางกราฟิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6 2.1, 2.2, 2.4, 2.6 3.1, 3.3, 3.4 4.2, 4.4, 4.5, 4.6 5.3, 5.4 - Workshop 1-4 - Assignment 1-4 - นำเสนอผลงานด้วยวาจารายงานทางเทคนิค 2-8 10%
2 2.1, 2.2, 2.4, 2.6 3.1, 3.3, 3.4 สอบกลางภาค 9 25%
3 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6 2.1, 2.2, 2.4, 2.6 3.1, 3.3, 3.4 4.2, 4.4, 4.5, 4.6 5.3, 5.4 - Workshop 5-8 - Assignment 5-8 - นำเสนอผลงานด้วยวาจารายงานทางเทคนิค 10-15 10%
4 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6 การเข้าชั้นเรียน ตลอดทั้งเทอม 10%
5 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6 2.1, 2.2, 2.4, 2.6 3.1, 3.3, 3.4 4.2, 4.4, 4.5, 4.6 5.3, 5.4 - Final Project - นำเสนอผลงานด้วยวาจารายงานทางเทคนิค 16-17 20%
6 2.1, 2.2, 2.4, 2.6 3.1, 3.3, 3.4 สอบปลายภาค 18 25%
มนัสสินี ล่าสันเทียะ. วาดภาพกราฟิกส์ Illustrator CS6 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : รีไรว่า, 2557. พงษ์ศักดิ์ ไชยทิพย์. เทคนิคการออกแบบงานกราฟิกส์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554. โสรชัย นันทวัชรวิบูลย์. BE GRAPHIC สู่เส้นทางกราฟิกส์ดีไซเนอร์. ARIP, 2545. ฝ่ายวิชาการคอมพิวเตอร์. โปรแกรมกราฟิกส์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557. ทัศยาภรณ์ เกื้อนุ่น และ พรพรรณ แพฝึกฝน. คู่มือ Adobe Photoshop CS6. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2555.
เอกสารประกอบการสอน วิชา การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางกราฟิกส์ (Use of Graphics Package Software)
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ - การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา - โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ