การฟังและการพูดภาษาอังกฤษทางธุรกิจ

Listening and Speaking English for Business

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารทางธุรกิจและสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งตระหนักในความสำคัญของการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ และมีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษในงานอาชีพต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษสำหรับการศึกษาด้วยตนเอง วิชาชีพ และเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 ศึกษาและฝึกทักษาการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับการฟังและการพูดทางธุรกิจ
-  อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเอกสารประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยาย
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดข้อกำหนดการปฎิบัติตนในห้องเรียนร่วมกันในชั้น
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
          เวลา
1.3.2   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การทำงานเดี่ยว การนำเสนอรายงาน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีรวมถึงการบูรณาการความรู้เข้ากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทำงานกลุ่มและการทำงานเดี่ยว
3.1.1   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   อภิปรายกลุ่ม
3.2.2    การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2    สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1    มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเป็นผู้นำเสนอและการเป็นผู้ฟัง
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขอย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.2    นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากการนำเสนอและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2    ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
6.2.1   อภิปรายกลุ่ม
6.2.2    การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
6.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
6.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
6.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, สอบกลางภาค สอบปลายภาค 30% 30%
2 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 การนำเสนอผลงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การสังเกต ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.   Grant, David and Mclarty, Robert. Business Basic : Student’s book. Hong Kong : Oxford University Press,1999.
2.   Laurence Urdang. The American Century Dictionary. New York :  Oxford
     University Press,1995.
3.   Macfarlane, Mick. International Express : Pre-Intermediate Workbook. 4th ed. China : Oxford University Press, 1999.
4.   Macziola, Sarah J and White, Greg. Getting Ahead : A communication Skills Course for Business English, Home Study Book. 3rd ed. Cambridge,
     Great Britain: Cambridge University Press, 1996.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนารายบุคคลระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนผ่านระบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการนำเสนอของนักศึกษา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   ตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1   ติดตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนในศาสตร์คอมพิวเตอร์