การภาษีอากร 2

Taxation 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งภาษีเงินได้รอตัดบัญชี การให้ความรู้เรื่องการวางแผนภาษี และจริยธรรมของวิชาชีพ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และ
ค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตาม
ประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษี
ให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี การให้ความรู้เรื่องการ
วางแผนภาษี และจริยธรรมของวิชาชีพ
ศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ การวางแผนภาษี และจริยธรรมของวิชาชีพ
- อาจารย์ประจำรายวิชา บอกช่วงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมตามคุณสมบัติ
หลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ
1.2.2 ทำแบบฝึกหัดจากข้อมูลจริง
1.2.3 นำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันมาบรรยายและสอดแทรกเป็นตัวอย่าง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.3 สอบกลางภาค
ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร
การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชี
เป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดง
รายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้ง
ศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานการวางแผนภาษี
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน ค้นคว้าทาง Internet
เกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์พิเศษ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบแบบแผน มีการวิเคราะห์
สังเคราะห์ ประยุกต์ระหว่างวิชาการภาษีอากรเข้ากับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และการวางแผน
อย่างถูกต้องตามหลักการของประมวลรัษฎากร
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน และการถามตอบ
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 ทำโจทย์พิเศษ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการกรณีศึกษา
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ
วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ระหว่างหลักการการภาษีอากรและหลักบัญชีที่รับรองทั่วไป
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการสะท้อนแนวคิด
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
ตามกำหนดเวลา
4.1.4 พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับชุมชนที่มหาวิทยาลัยตั้งอยู่
4.2.1 จัดการเรียนการสอนแบบ PjBL (Project base learning)
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรูปเล่มรายงาน แฟ้มสะสมผลงานการจัดตั้งบริษัท
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทำรายงานแสดงการเสียภาษี และการใช้
ประโยชน์จากเวปไซด์กรมสรรพากร
5.2.1 มอบหมายกรณีตัวอย่างซึ่งเน้นการคำนวณจากตัวเลขและการบันทึกบัญชี
5.2.2 นำข้อมูลที่ได้มาจากการคำนวณกรอกลงในระบบของกรมสรรพากรเพื่อจัดทำแบบ
แสดงรายการเสียภาษีจากจากเวปไซด์กรมสรรพากร
5.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
5.3.2 แบบฝึดหัดในห้องเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3
1 11015302 การภาษีอากร 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 1 10% 30% 10% 30%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
หนังสือการบัญชีภาษีอากร ผศ.ระริน เครือวรพันธุ์ เอกสารประกอบการสอน อ.ดารณี ใจวงค์
- ไม่มี -
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
เว็บไซต์ www.rd.go.th
เว็บไซต์ www.tfac.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้
ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน
และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ