การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม

Green Marketing

 
 
 
 
 
 
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เข้าใจบทบาทสำคัญเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตกับทำธุรกิจแนวคิดของการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางแก้ไขของกรณีศึกษาด้านการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรมและกฎหมายทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ตระหนักถึงระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลในการทำธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. มีทักษะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเพื่อสร้างประโยชน์ต่อธุรกิจ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและความสำคัญเกี่ยวกับแนวคิดของการตลาดสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการระบบนิเวศวิทยา ปัญหาและ ผลกระทบของธุรกิจที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดได้
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาความสำคัญและพัฒนาการของการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้งานทางการตลาดโดยเน้นที่อินเตอร์เน็ตเป็นสำคัญ ชนิดของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด แนวทางที่เป็นประโยชน์ในการวางแผนและกลยุทธ์ทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งตลาดผู้บริโภคและตลาดธุรกิจทั้งภายในประเทศและการตลาดต่างประเทศ
The importance and development of electronic technology markets. Can be implement with a focus on internet marketing is important. Types of electronic commerce including analysis of the marketing environment. Useful guidelines for planning and marketing strategies electronics. Both consumer and business markets, both domestic and international markets.
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
วิธีการสอน บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  
วิธีการสอน บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
1.3.2 การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
2. ความรู้ ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
 
 
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ ๆ  
  3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 ประเมินจากกรณีศึกษา
 
 
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา เกี่ยวกับการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม
3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ ๆ  
  3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 ประเมินจากกรณีศึกษา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
4.1.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม    
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม

     
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.3 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และทำรายงานโดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 2.1.2 การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 30% 30%
2 3.1.1 , 3.1.2 , 5.1.1 , 5.1.3 , 5.1.6, 5.1.7 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน -การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย -การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1.4 การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน


1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอน พฤติกรรมผู้บริโภค
รศ. สุภี สุกิตนิยากรณ์,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก.ตาก: 2555. 2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
เสรี วงศ์มณฑา.(2542).พฤติกรรมผู้บริโภค.กรุงเทพฯ : ธีระ ฟิล์มและไซเท็กซ์..
รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. พฤติกรรมผู้บริโภคและกรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์, 2541.
  3.เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
Schiffman,Leon G, and Leslies Lazar Kanuk, Consumer Behavior. 5th ed. Englewood
Ciffs. New jersey : Prentice-Hall, 1994.
นิตยสารออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Positioningmagazine.com , Brand Buffet, Marketing Oop เป็นต้น
บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ


 
 
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอน พฤติกรรมผู้บริโภค
รศ. สุภี สุกิตนิยากรณ์,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก.ตาก: 2555. 2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
เสรี วงศ์มณฑา.(2542).พฤติกรรมผู้บริโภค.กรุงเทพฯ : ธีระ ฟิล์มและไซเท็กซ์..
รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. พฤติกรรมผู้บริโภคและกรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์, 2541.
3.เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
Schiffman,Leon G, and Leslies Lazar Kanuk, Consumer Behavior. 5th ed. Englewood
Ciffs. New jersey : Prentice-Hall, 1994.
นิตยสารออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Positioningmagazine.com , Brand Buffet, Marketing Oop เป็นต้น
บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา        


 
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดำเนินการทบทวน และวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น