สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมเครื่องกล

Co-operative Education in Mechanical Engineering

ปฏิบัติการฝึกงาน  โดยนำความรู้จากสาขาวิศวกรรมเครื่องกลไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลอย่างมีระบบ โดยมีวิศวกรที่ปรึกษาหรือ ผู้ชำนาญการของสถานประกอบการจริงทำหน้าที่ควบคุมดูแล และนักศึกษาจะต้องมีโครงงานและหน้าที่รับผิดชอบที่แน่นอนตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาปกติหรือไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องสามารถสรุปโครงการและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการนั้นๆ อย่างเป็นรูปธรรมและมีการจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลงานร่วมกันจากทางสถานประกอบการและคณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงก่อนสำเร็จการศึกษา
เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้นำความรู้ทางวิชาการที่ได้ศึกษาไปฝึกทดลองก่อนที่จะไปประกอบอาชีพจริงๆ และยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความเจริญเติบโตในอาชีพธุรกิจ
ปฏิบัติการฝึกงาน  โดยนำความรู้จากสาขาวิศวกรรมเครื่องกลไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลอย่างมีระบบ โดยมีวิศวกรที่ปรึกษาหรือ ผู้ชำนาญการของสถานประกอบการจริงทำหน้าที่ควบคุมดูแล และนักศึกษาจะต้องมีโครงงานและหน้าที่รับผิดชอบที่แน่นอนตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาปกติหรือไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องสามารถสรุปโครงการและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการนั้นๆ อย่างเป็นรูปธรรมและมีการจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลงานร่วมกันจากทางสถานประกอบการและคณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงก่อนสำเร็จการศึกษา
4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา  ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้
(1)  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม


เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

นอกจากนั้น ยังมีรายวิชาส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษามีการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ เช่น วิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม  วิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ซึ่งอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชาชีพ และสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ด้วยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรมและมีการกำหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนจิตพิสัยในชั้นเรียน นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจบการศึกษา
1.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 1.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
1.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 1.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 1.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
สามารถนำความรู้ทางวิชาการที่ได้ศึกษาไปฝึกทดลองปฏิบัติก่อนที่จะไปประกอบอาชีพจริงๆ และยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ ต่อสาขาวิชาชีพวิศวกรรม
2.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 2.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
2.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 2.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 2.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิด และความเข้าใจ ให้เป็นไปตามระบบในทางทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพต่อไป
3.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 3.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
3.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 3.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 3.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพอันดีต่อคณะผู้ร่วมงานในสถานประกอบการที่ไปนิเทศฝึกงาน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 4.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
4.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 4.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 4.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
  5.1.1 ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์ 5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 5.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
5.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 5.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 5.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
5.1.1 ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์ 5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ 5.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
5.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ 5.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 5.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
คู่มือฝึกงานนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษา.โครงการฝึกงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น www.eit.or.th, www.dpt.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ