การพูดและการเขียนทางวิชาชีพ

Speaking and Writing for Careers

1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีที่สำคัญทางด้านการสื่อสารด้วยการพูดและการเขียนทางวิชาชีพ
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการเตรียมการพูดและการเขียนทางวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ
3.  เพื่อให้ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการพูดและการเขียนทางวิชาชีพในรูปแบบต่างๆได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับการเขียนประเภทนั้นๆ
4.  เพื่อนำความรู้และทักษะที่ได้จากการศึกษาในวิชาชีพนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง
5.  เพื่อให้มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม โดยสามารถประยุกต์ใช้การพูดและการเขียนให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมได้
 เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดและการเขียนทางวิชาชีพให้แก่นักศึกษา โดยเน้นการจัดกิจกรรมเสริมทักษะทางการพูดและการเขียนทางวิชาชีพในรูปแบบต่างๆ และพัฒนาทักษะการแสดงออกทางการพูดและการเขียนในโอกาสต่างๆ รวมทั้งเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรายวิชาอื่นๆ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพูดและการเขียน การเลือกเรื่องในการนำเสนอ การเตรียมตัวและการเตรียมเนื้อหา ตลอดจนการพัฒนาบุคลิกภาพของการพูดและการเขียน การฝึกทักษะและเทคนิคการพูด การเขียนทางวิชาชีพ
 
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมงและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
 
1)    ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมซื่อสัตย์สุจริต
                       2)    มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
                       3)    มีความเป็นผู้นำ และผู้ตาม สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ
                       4)    เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                         5)   เคารพกฎ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร และสังคม
                         6)   สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อ  บุคคล องค์กร และสังคม
                      7)    มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
                      1)  ให้วิเคราะห์กรณีศึกษา แสดงบทบาทสมมุติ เห็นความสำคัญของการสื่อสารการพูดและการเขียน
                        2)  ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
                     3)  กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1)    พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา
                  2)    มีการอ้างอิงถ้อยคำ ข้อความ และเอกสารที่นำมาพูดและเขียนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
                  3)   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                4)   ประเมินผลการนำเสนอ ทักษะการพูด และการเขียน
 
                  1)   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
                  2)   สามารถใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสารในงานอาชีพและในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                  3)   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
บรรยายและให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายผลการทำงาน  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
1)    สอบพูดหน้าชั้นเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2)   ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้าการรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย
3)    ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
 
                    ฝึกหัดให้คิดเป็นระบบ  วางแผนการเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้ผลงานตามที่คาดหวัง  สามารถนำทักษะวิธีการปรับแต่งไปใช้กับกระบวนการเรียนในรายวิชาอื่น
                    ให้นักศึกษาเลือกศึกษาเรื่องที่ตนองหรือสมาชิกในกลุ่มมีความถนัดนำเสนอโครงเรื่อง และร่วมกันหาเอกสารอ้างอิงตามหลักทฤษฎีการเขียนรายงานทางวิชาการ
           
                    1 )  ประเมินจากผลการเลือกหัวข้อเรื่อง  การวางโครงเรื่อง  และการเก็บข้อมูล ทั้งทางด้านเอกสาร รูปเล่ม          
2 )  สอบกลางภาค และปลายภาค
 
1 )  มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถนำเสนอแนวความคิดความสร้างสรรค์
 2 )  มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
 3)  รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เป็นการฝึกทักษะให้รู้จักป้อนคำถาม การวางตนในฐานะผู้ขอข้อมูล
 4 ) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 )  จัดกิจกรรมในการวิเคราะห์กรณีศึกษา    
 2 )  มอบหมายงานเป็นรายบุคคล  เตรียม หัวข้อ  โครงเรื่อง  ข้อมูล  ในบทพูด  และการเขียน
 3 ) กำหนดการทำงานเป็นกลุ่ม  มีหัวหน้ากลุ่ม มีผู้ปฎิบัติตามที่ได้รับมอบหมาย  การบันทึกข้อมูล ร่วมกันสรุปเนื้อหาเพื่อให้เป็นภาษาวิชาการ การระดมความคิดเพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่ต้องการ  และนำเสนอ
 
                    1)   ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
                    2)  ประเมินจากรายการที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน พฤติกรรมการทำงาน
                    3)  ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
                    1)  พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลและการเขียนทางอินเทอร์เน็ต
                    2)  พัฒนาทักษะในการพูด การเขียน โดยการนำข้อมูลจากสื่อเสนอหน้าชั้นเรียน
                    3)  ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                    1)  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
                    2)  นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 
 1)   ประเมินจากการพูดและการเขียน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
 2)   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการพูดและการเขียน
     
บรรยาย
-  วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า
        -  การนำเสนอทักษะการพูด
        -  งานทางด้านการเขียน
        -  การทำงาน รายบุคคล / ผลงาน
       -   การส่งงานตามที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 1 3 4 1 2 3
1 13044007 การพูดและการเขียนทางวิชาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
การพูด
การเขียนรายงานเชิงวิชาชีพ
-  วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า
        -  การนำเสนอทักษะการพูด
        -  งานทางด้านการเขียน
        -  การทำงาน รายบุคคล / ผลงาน
       -   การส่งงานตามที่มอบหมาย
           ในการเก็บข้อมูล เพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
               1 )  อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุป
               2 )  ประเมิน ผลจากการเรียนของนักศึกษา                  
              3 )  การทบทวน... การสอบ  ประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2  จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง 
      และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
           1 )  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
           2 )   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
            ในระหว่าง กระบวนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์  ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการ 
     เรียนรู้ ของนักศึกษาในวิชา ได้จากการสอบ หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
     ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้  ดังนี้
         1 )   การทวนสอบ การให้คะแนนจากกสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่
     อาจารย์ประจำหลักสูตร
         2 )   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบ ผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยกา ตรวจสอบ
    ข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ  และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการปรับปรุงการสอน และ 
      รายละเอียด วิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้     
          1 )  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ ผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ ตาม ข้อ  4     
          2 )  เปลี่ยน..สลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์