สนามแม่เหล็กไฟฟ้า

Electromagnetic Fields

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน ทางด้านสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนที่เกี่ยวข้องกับทางทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
ศึกษาเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสถิตย์ ตัวนำและไดอิเล็กตริก คาปาซิแตนซ์ การพาและ  การนำกระแส สนามแม่เหล็กสถิตย์ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลียนแปลงตามเวลาและสมการแมก์เวล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษา  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในสาขาต่างๆ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิศวกร สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม อภิปรายกลุ่ม และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ สอนให้นักศึกษาเป็นผู้มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลาจากการมอบหมายงาน การส่งงาน และการเข้าชั้นเรียน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย หรือ แบบฝึกหัด
เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะงานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณลักษณะเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทั้ง 5 ด้าน คือ  1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม  2 ด้านความรู้  3 ด้านทักษะทางปัญญา  4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานหรืแบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และ Problem & Active – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีการทดสอบความรู้ของผู้เรียนก่อนและหลังเรียน (ถาม-ตอบ)
2.3.1 ทดสอบย่อยหรืองานที่มอบหมาย, สอบกลางภาคและสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง  2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูลหรือแบบฝึกหัด กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem & Active – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น, แบบฝึกหัดหรือปัญหาโจทย์
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษหรือแบบฝึกหัดที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานหรือแบบฝึกหัดที่ได้ทดสอบ  3.2.2 อภิปรายกลุ่มหรือเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาจากแบบฝึกหัดหรือรายงาน  3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำหลักการทางด้านวิศวกรรมไปใช้จากแบบฝึกหัดหรือโจทย์ทดสอบ  3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงานจากแบบฝึกหัด, รายงานหรือทดสอบย่อย  3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาหรือแนวคิด
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวกับสนามไฟฟ้า หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดเชิงวิศวกรรม  5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียนหรือแบบฝึกหัด  5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา  5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอนออนไลน์ต่างๆ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 5 มีจินตนาการในการพัฒนาองค์ความรู้จากเดิมให้เกิดประโยชน์ได้เป็นอย่างดี 1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัว ได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 5 มีบทบาทในการคิด วิเคราะห์ ต่อปัญหาในการทำงานได้อย่างถูกต้องต่องานโครงการต่างๆ 4 รู้จักการเรียนรู้ใช้สื่อออนไลน์ได้เป็นอย่างดี .5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมองค์กร ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4 มีความรู้ความเข้าใจ เอาใจใส่ในหน้าที่รับผิดชอบของตนเอง 5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1 ENGEE142 สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าใจเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสถิต, เข้าใจเกี่ยวกับตัวนำ ไดอิเล็กตริก คาปาซิแตนซ์ การพาและการนำกระแส, สนามแม่เหล็กสถิต, สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและสมการแมก์เวล ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 หรืองานที่มอบหมาย, สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 หรืองานที่มอบหมาย, สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 12 สัปดาห์ที่ 17 10% 30% 10% 30%
2 การทำแบบฝึกหัด ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและงานที่ได้รับมอบหมาย วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความหรือแบบฝึกหัด การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 การมีส่วนร่วมในการเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าเรียนสม่ำเสมอและใส่ใจต่อการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สวัสดิ์ ยุคะลัง, เอกสารประกอบการสอน สนามแม่เหล็กไฟฟ้า, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, 2560. มงคล เดชนครินทร์, สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ทฤษฎี ปัญหา และเฉลย, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2524,กรุงเทพมหานคร : O.S. Printing House Co. Ltd., มงคล ทองสงคราม, สนามแม่เหล็กไฟฟ้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2536, กรุงเทพมหานคร : บริษัท รามาการพิมพ์ จำกัด. สุนีย์ คุรุธัช, วิชาสนามแม่เหล็กไฟฟ้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2543, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. เฉลิมพล น้ำค้าง, คลื่นและสนามแม่เหล็กไฟฟ้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2543, กรุงเทพมหานคร : บริษัท พิมพ์ดี จำกัด. ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย, สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2545, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น). นิรันดร์ คำประเสริฐ, วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้าและวิศวกรรมไมโครเวฟ เล่ม 1 และ เล่ม 2 , ปรับปรุง 2545, กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. ประสาท สืบค้า และคณะ, ประมวลสาระวิชาฟิสิกส์ 2, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2546, นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สำรวย สังข์สะอาด, วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2549, กรุงเทพมหานคร. สุริภณ สมควรพาณิชย์ และ ขนิษฐา แซ่ตั้ง, สนามแม่เหล็กไฟฟ้า, ปรับปรุง 2550, กรุงเทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, มาตรฐานการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2551, กรุงเทพมหานคร : บริษัท โกลบอล กราฟฟิค จำกัด. ธีรพันธ์ สุทธิเทพ และ วีรศักดิ์ บุญทน, สนามแม่เหล็กไฟฟ้า, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2559, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Sadiku, Matthew N.O., Elements of Electromagnetics, USA : Holt, Rinehart and Winston, Inc., 1989.  William H. Hayt, Jr. and John A.Buck, Engineering Electromagnetics, Eighth Edition, New York: Mc.Graw-Hill Book Inc. 2012. Bo Thide’, Electromagnetic Field Theory, Second Edition, Uppsala University, Sweden. 2013. George B. Thomas, Jr., etc., Thomas’ Calculus, Pearson Addison Wesley, Thirteenth Edition, USA: Boston. 2013.
เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้า, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2554. https:// www.shuterstork.com/02/01/59 https://commons.Wikimedia.org/File:V-1_right_hand_thumb_rule.gif /02/01/59
สุริยัน ศรีสวัสดิ์กุล, พจนานุกรมศัพท์วิศวไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2539, ปทุมธานี : บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด. เอกสารงานวิจัย, สวัสดิ์ ยุคะลังและคณะ, ชุด Sphere Gaps แนวดิ่ง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50, 75 และ 100 เซนติเมตร, ห้องปฏิบัติการหลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้า, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, 2558.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าและระบบไฟฟ้าต่าง ๆ