การจัดการการตลาด

Marketing Management

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิวัฒนาการแนวความคิดในการจัดการการตลาด การวิเคราะห์ปัญหา และโอกาสทางการตลาด การพัฒนาตลาดเป้าหมาย การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการตลาดในการวางแผนและควบคุมประเมินผล ทางการตลาด การพัฒนา กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมกับตลาดเป้าหมายและสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการงานด้านการตลาด การเลือกกิจกรรมการตลาดโดยคำนึงถึงหลักจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม ประเทศชาติ ฝึกการสร้างความคิดเชิงระบบ (Systematic Thinking) และการแก้ปัญหาด้วยการใช้กรณีศึกษา การรายงานจากศึกษาค้นคว้า
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิวัฒนาการแนวความคิดในการจัดการการตลาด การวิเคราะห์ปัญหา และโอกาสทางการตลาด การพัฒนาตลาดเป้าหมาย การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการตลาดในการวางแผนและควบคุมประเมินผล ทางการตลาด การพัฒนา กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมกับตลาดเป้าหมายและสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการงานด้านการตลาด การเลือกกิจกรรมการตลาดโดยคำนึงถึงหลักจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม ประเทศชาติ ฝึกการสร้างความคิดเชิงระบบ (Systematic Thinking) และการแก้ปัญหาด้วยการใช้กรณีศึกษา การรายงานจากศึกษาค้นคว้า และความรับผิดชอบต่อสังคม และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจทางการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรได้
ศึกษาวิวัฒนาการแนวความคิดในการจัดการการตลาด การวิเคราะห์ปัญหา และโอกาสทางการตลาด การพัฒนาตลาดเป้าหมาย การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการตลาดในการวางแผนและควบคุมประเมินผล ทางการตลาด การพัฒนา กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมกับตลาดเป้าหมายและสิ่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการงานด้านการตลาด การเลือกกิจกรรมการตลาดโดยคำนึงถึงหลักจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม ประเทศชาติ ฝึกการสร้างความคิดเชิงระบบ (Systematic Thinking) และการแก้ปัญหาด้วยการใช้กรณีศึกษา การรายงานจากศึกษาค้นคว้า
 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง                        ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
การมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ               ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา              การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล                          การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 7 15 30% 40%
2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 2550. หลักการตลาด.
พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธนาเพรส.
คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 2555. หลักการตลาด.
พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. 2551. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ปัญญาชน.
จันทิรา ธนสงวนวงศ์. 2559. “ความหายของวัฒนธรรม.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://e-learning.e-tech.ac.th/ (19 พฤศจิกายน 59)
จินตนา บุญบงการ. 2558. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง-
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัตยาพร เสมอใจ และ ฐิตินันท์ วารีวนิช. 2551. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์ วี.พริ้น (1991).
ดํารงศักดิ์ ชัยสนิท. 2537. พฤติกรรมผูบริโภค. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร.
ธนิต โสรัตน์. 2550. “การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ หรือ Multimodal Transport (MT)
คืออะไร.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.tanitsorat.com/view.php?id=52 (27 เมษายน 2550)
นภวรรณ คณานุรักษ์. 2559. กลยุทธ์การตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.
ณัฐยา สินตระการผล และ วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. 2557. หลักคิดเรื่องกลยุทธ์และการแข่งขัน.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ส. เอเซียเพรส.
พิชัย ผกากอง. 2547. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิบูล ทีปะปาล. 2534. หลักการตลาดยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตร
สัมพันธ์กราฟฟิค.
ภาวิณี กาญจนาภา. 2554. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ท้อป.
วารุณี ตันติวงศ์วาณิช นิภา นิรุติกุล สุนทรี เหล่าพัดจัน พรพรหม พรหมเพศ นิตยา งามแดน และ จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์. 2554. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
วิทวัส รุ่งเรืองผล. 2556. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
ศิริ ภู่พงษ์วัฒนา. 2550. การจัดการช่องทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
โสภณการพิมพ์
สมคิด บางโม. 2558. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พัฒนวิทย์การพิมพ์.
สมศักดิ์ ณ โมรา. 2555. “ธุรกิจลูกโซ่เป็นแบบไหน.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://www.gotoknow.org/posts/378207 (12 กุมภาพันธ์ 2555)
สุดาพร กุณฑลบุตร. 2552. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย. 2011. จรรยาบรรณของนักการตลาด. ครบรอบ 40 ปี
สุชิน นะตาปา. 2541. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
สุดาดวง เรืองรุจิระ. 2543. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประกายพรึก.
สุพรรณี อินทร์แก้ว และ วาสนา เจริญสุข. 2555. หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์. 2548. “การแยกประเภทต้นทุน.” (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://home.kku.ac.th/anuton/cost%20accounting/cost%20split.htm
อภิรัฐ ตั้งกระจ่าง. 2545. การตลาดระหว่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เพชร
จรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.
 
Adrian Palmer. 2004. Introduction to Marketing. Theory and Practice. 3th ed.
Oxford University Press.
Auken B. V. 2002. The brand management. London: Kogan Page.
Bert Rosenbloom. 2004. Marketing Channels. 7th ed. South-Western. Thomson.
Blackwell Roger D., Engel James F. and Miniard Paul W. 2001. Consumer-
          Behavior. 9th ed. Orlando: Harcourt.
Boone E. Louis and David L. Kurtz. 1995. Marketing Management. 3rd ed. New
Jersey : Prentice Hall.
Carroll, A. B. 1979. “A Three-Dimensional Model of Corporate Performance.”
Academy of Management Review. 4, 4.
Donaldson, T. and Dunfee, T. 1999. Ties that Bind: A Social Contracts-
Approach to Business Ethics. Boston: Harvard Business School.
Engel J. F., Blackwell R. D., and Miniard, P. W. 1990, Consumer Behaviour, 6th
ed. Chicago. The Dryden Press.
Farquhar Peter H. 1989. Managing brand equity. Marketing Research. 1, 3.
Harold J. Leavitt and Homa Bahrami.1964. Managerial Psychology: Managing
Behavior in Organizations. 5th ed. Chicago: University of Chicago.
Hilgard Ernest R. 1962. Introduction to Psychology. 3rd ed. New York: Marcourt,
Brace & World Inc.
Loudon David and Bitta Albert. 1988. Consumer Behavior: Concepts and
Applications. 3rd ed. New York. McGraw Hill.
O. C. Ferrell and Michael D. Hartline. 2011. Marketing Management Strategies.
5th ed. South-Western, Cengage Learing.
Peter J. Paul and Jerry C. Olson. (1990). Consumer Behavior and Marketing-
Strategy. 2nd ed. Homewood, IL: Irwin
 
Philip M. Hauser and Otis Dudley Duncan. 1959. The Nature of Demography.
In The Study of Population: An Inventory and Appraisal, eds. Chicago:
University of Chicago Press.
Phillip Kotler. 1988. Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation
and Control. 6th Ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Phillip Kotler. 1994. Principle of Marketing. USA. Prentice-Hall, Inc.
Philip Kotler. 2000. Marketing Management. The Millennium ed. Upper Saddle
River, NJ: Prentice-Hall.
Phillip Kotler. 2003. Marketing Management. 11th ed. Singapore: Prentice-Hall.
Phillip Kotler, Veronica Wong, John Saunders and Gary Armstrong. 2005.
          Principles of Marketing. 4th European Edition, Pearson Education
          Limited.
Phillip Kotler and Kevin Lane Keller. 2009. A Framework for Marketing
Management. 4th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ   การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร