ช่องทางการจัดจำหน่ายทางการตลาด
Distribution Channels in Marketing
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปด้านการจัดการช่องทางทางการตลาด ทราบถึงแนวคิดการตัดสินใจ การคัดเลือก ออกแบบ และปรับเปลี่ยนช่องทางการจัดจำหน่ายให้เหมาะสมตรงตามความต้องการและต้นทุนที่จะเสียไป รู้ถึงแนวทางการคัดสรรและการสรรหาช่องทางทางการตลาดที่ดีในขณะเดียวกันก็ทราบถึงแนวทางการคัดแยกช่องทางทางการตลาดที่ไม่ได้ออกจากตัวเลือกในการหาช่องทางที่เหมาะสมและดีที่สุดทางการตลาด
มีทักษะในการอธิบายพื้นฐานด้านการการจัดการเกี่ยวกับการค้าส่ง การค้าปลีก และการจัดการโลจิสติกส์และโซ่มูลค่า ที่จะก่อให้เกิดกำไรสูงสุดและลดต้นทุนการผลิตและการขนส่งให้ต่ำสุด อธิบายถึงความต้องการและความจำเป็นของช่องทางทางการตลาดรวมถึงการจัดการที่ดีของช่องทางทางการตลาด อันจะรวมไปถึงแนวโน้มการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงช่องทางการจัดจำหน่ายแบบใหม่เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของตลาดเป็นสำคัญ ตามมาตรฐานที่ผู้สอนกำหนดได้
สามารถการวิเคราะห์และตระหนักถึงความต้องการและความจำเป็นในการใช้ทักษะทางด้านการจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย การก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการทำงานอีกทั้งเป็นตัวเลือกสำคัญเพื่อพัฒนางานในสาขาวิชาชีพ ตอบโจทย์ความหลากหลายทางด้านทักษะและเป็นตัวเลือกสำคัญของสถานประกอบการ วิเคราะห์และวางแผนการจัดการการจัดจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งการเป็นนักการตลาดที่ดีที่นอกเหนือจากการทำผลกำไรให้แก่องค์การแล้วยังจะต้องมีคุณธรรมจริยธรรมในการเป็นนักการตลาดที่ดี เพื่อความสุข สงบ และการเป็นที่ยอมรับในสังคมทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับกว้างขึ้นไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะ และสามารถวิเคราะห์ รวมถึงนำไปใช้เพื่อปฏิบัติได้จริง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ปลูกฝังการเป็นนักการตลาดที่ดี เพื่อให้สอดคล้องกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป อีกทั้งการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด ทั้งทางด้านการทำงาน และการนำมาประยุกต์ใช้ในยุคปัจจุบันตามสมัยสมควร
ศึกษาแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดจำหน่าย รูปแบบและลักษณะของสถาบันการตลาดในการจัด
จำหน่าย การกำหนดนโยบายและวางแผนเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้าให้เกิด
การได้เปรียบในการแข่งขัน การบริหารช่องทางภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
การตัดสินใจเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า การประยุกต์เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้
ในการบริหาร
จำหน่าย การกำหนดนโยบายและวางแผนเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้าให้เกิด
การได้เปรียบในการแข่งขัน การบริหารช่องทางภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
การตัดสินใจเกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า การประยุกต์เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้
ในการบริหาร
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริตความมีวินัย ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความตรงต่อเวลา
มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และยอมรับพหุวัฒนธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจโลก
มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และยอมรับพหุวัฒนธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจโลก
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้อง แล้วให้นักศึกษาร่วมอภิปรายแนวปฏิบัติที่ดี และเหมาะสม เช่น การตรงต่อเวลา การทำงานเป็นทีม การแต่งกาย เป็นต้น
อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
ศึกษากรณีตัวอย่างจากการนำเสนอ ทั้งผู้นำเสนอ ผู้ฟัง และกรณีศึกษา
อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
ศึกษากรณีตัวอย่างจากการนำเสนอ ทั้งผู้นำเสนอ ผู้ฟัง และกรณีศึกษา
สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนตามแบบบันทึกการเข้าชั้นเรียน และพฤติกรรมการแสดงออกในชั้นเรียน
2.การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและแบบทดสอบ
4. ประเมินผลงานการนำเสนอรายงานที่มอบหมายตามมาตรฐานการให้คะแนนของอาจารย์ผู้สอน
2.การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและแบบทดสอบ
4. ประเมินผลงานการนำเสนอรายงานที่มอบหมายตามมาตรฐานการให้คะแนนของอาจารย์ผู้สอน
1 มีความรู้และประสบการณ์เรียนรู้ทั้งในวิชาการ วิชาชีพด้านบริหารธุรกิจระดับท้องถิ่น ระดับสากลที่ทันสมัย และรู้จักสืบเสาะแสวงหาความรู้อยู่เสมอ สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการความรู้ ใฝ่เรียนรู้และพัฒนาตนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
มีความรู้และความเข้าใจที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
มีความรู้และความเข้าใจที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน งานวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอ เปรียบเทียบประโยชน์และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ทั้งในระดับตนเอง ทั้งถิ่นและระดับสากลโดยมีนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
สังเกตความสามารถในการร่วมอภิปรายกลุ่ม การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า กรณีตัวอย่าง ตรวจผลงานหรือชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย
สังเกตความสามารถในการร่วมอภิปรายกลุ่ม การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า กรณีตัวอย่าง ตรวจผลงานหรือชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
3.1.3 ทำงานแบบชาญฉลาด มีความกล้าในการตัดสินใจ รู้จักจัดลำดับความสำคัญของงาน การวิเคราะห์ แยกแยะผลที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนมีการพัฒนาตนและองค์กรอย่างต่อเนื่อง
3.1.4 มีกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถสืบค้น ตีความและประเมินข้อมูลทางบริหารธุรกิจ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 ทำงานแบบชาญฉลาด มีความกล้าในการตัดสินใจ รู้จักจัดลำดับความสำคัญของงาน การวิเคราะห์ แยกแยะผลที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนมีการพัฒนาตนและองค์กรอย่างต่อเนื่อง
3.1.4 มีกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถสืบค้น ตีความและประเมินข้อมูลทางบริหารธุรกิจ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยายโดยใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
อภิปรายกลุ่ม โดยให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง
3. วิเคราะห์กรณีศึกษาร่วมกันโดยมีการแบ่งกลุ่มเพื่อรับผิดชอบในแต่ละหน้าที่
นำเสนอ ดำเนินการ และสรุปผลการทำงานทั้งในรูปแบบงานกลุ่มและงานเดี่ยวที่ได้รอบมอบหมาย ผู้ศึกษาอธิบายทักษะการประยุกต์ใช้และการนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับตนเองและทางด้านธุรกิจ
อภิปรายกลุ่ม โดยให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ด้วยตนเอง
3. วิเคราะห์กรณีศึกษาร่วมกันโดยมีการแบ่งกลุ่มเพื่อรับผิดชอบในแต่ละหน้าที่
นำเสนอ ดำเนินการ และสรุปผลการทำงานทั้งในรูปแบบงานกลุ่มและงานเดี่ยวที่ได้รอบมอบหมาย ผู้ศึกษาอธิบายทักษะการประยุกต์ใช้และการนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับตนเองและทางด้านธุรกิจ
1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีเกี่ยวข้องกับการตลาดในยุคปัจจุบัน
สังเกตการร่วมอภิปรายตามแบบบันทึกคะแนน ตรวจผลงาน และการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ประเมินผลงานรายบุคคลตามงานที่ได้รับมอบหมาย
สังเกตการร่วมอภิปรายตามแบบบันทึกคะแนน ตรวจผลงาน และการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ประเมินผลงานรายบุคคลตามงานที่ได้รับมอบหมาย
ความสามารถด้านการจัดการ การทำงานเป็นทีม มีภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี และรับผิดชอบตัวเอง ครอบครัว วิชาชีพ องค์กร สังคมและประเทศชาติ
มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
สุขภาพดี มีสุขภาวะสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคมและทางสติปัญญา
มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
สุขภาพดี มีสุขภาวะสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคมและทางสติปัญญา
1.จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ตัวอย่างกรณีศึกษา
2. มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.ให้นักศึกษาได้ทำชิ้นงานเพื่อการจัดการช่องทางทางการตลาดที่ดี
4. การนำเสนอผลงาน
2. มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.ให้นักศึกษาได้ทำชิ้นงานเพื่อการจัดการช่องทางทางการตลาดที่ดี
4. การนำเสนอผลงาน
ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยประเด็นที่กำหนด
สังเกตการนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมตามแบบบันทึก
ตรวจผลงาน รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ตรวจผลงานตามชิ้นงานนักศึกษาและลงแบบบันทึกการให้คะแนน
มีความสามารถด้าน การใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน และการแสวงหาความรู้ เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการทำงานได้
5.1.3 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง และแม่นยำทั้งด้าน วัจนภาษาและอวัจนภาษา ตลอดจนสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
5.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง และแม่นยำทั้งด้าน วัจนภาษาและอวัจนภาษา ตลอดจนสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
5.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E – Learning
นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ชิ้นงานนักศึกษาในการนำเสนอผลงานเกี่ยวกับการจัดการช่องทางทางการตลาดที่ดีโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างการรับรู้ได้ทั้งในรูปแบบวจภาษาและอวจภาษา อีกทั้งนำเทคโนโลยีปัจจุบันมาใช้ในการส่งเสริมการตลาดในยุคปัจจุบัน
ตรวจสอบความเหมาะสมในการเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีในการสื่อสาร
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายตามแบบบันทึกการให้คะแนน
สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารและส่งเสริมการจัดการช่องทางทางการตลาดและงานทางด้านการตลาดได้อย่างเหมาะสม ตามที่กำหนดให้
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายตามแบบบันทึกการให้คะแนน
สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารและส่งเสริมการจัดการช่องทางทางการตลาดและงานทางด้านการตลาดได้อย่างเหมาะสม ตามที่กำหนดให้
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,2551
Philip Kotler ผู้แปลง ธนวรรณ แสงสุวรรณและคณะ การจัดการการตลาด.กรุงเทพฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไซน่า จำกัด ,2547
รวิพร คูเจริญไพศาล การกระจายช่องทางการตลาดและลอจิสติกส์ กรุงเทพ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2552
อาจารย์ยุพิน พิทยาวัฒนชัย การจัดการช่องทางการตลาด กรุงเทพ : บริษัท ซี.วี.แอล.การพิมพ์ 2552
Philip Kotler ผู้แปลง ธนวรรณ แสงสุวรรณและคณะ การจัดการการตลาด.กรุงเทพฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไซน่า จำกัด ,2547
รวิพร คูเจริญไพศาล การกระจายช่องทางการตลาดและลอจิสติกส์ กรุงเทพ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2552
อาจารย์ยุพิน พิทยาวัฒนชัย การจัดการช่องทางการตลาด กรุงเทพ : บริษัท ซี.วี.แอล.การพิมพ์ 2552
เว็บไซด์การตลาดต่าง ๆ ได้แก่ posintining mag.com , marketing oop.com เป็นต้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา จากการจัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การให้งานและชี้แจงรายละเอียดไว้ล่วงหน้าก่อนเปิดภาคเรียน การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ให้ข้อเสนอแนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตามที่ผู้สอนจัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การให้งานและชี้แจงรายละเอียดไว้ล่วงหน้าก่อนเปิดภาคเรียน การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ให้ข้อเสนอแนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตามที่ผู้สอนจัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
การสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์ประจำวิชานี้ ระดับผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์ประจำวิชานี้ ระดับผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
เมื่อได้ผลประเมินการสอน นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาแนวทางพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขึ้น โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชาโดยได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชา ดังนี้
1)การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2)มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1)การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2)มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือสถานประกอบการต่าง ๆ
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือสถานประกอบการต่าง ๆ