พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต

Electronic Commerce on Internet

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน มีความเข้าใจหลักการทำการค้า ทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์สามารถวิเคราะห์กลไกในการทำ การตลาด ควบคู่ไปกับธุรกิจไร้พรมแดน และสามารถใช้เทคนิคการทำการค้าไปปฏิบัติได้จริง
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจความหมายของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจประเภทและรูปแบบของธุรกิจเกี่ยวกับพาณิชอิเล็กทรอนิกส์
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการ ประโยชน์ของการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจถึงการรักษาความปลอดภัย กฎหมาย ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.5 เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์ใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ศึกษาหลักการในการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศธุรกิจในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชน์ใช้งานทั้งภายในองค์กรเพื่อการสื่อสารบุคลาการที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ระบบอินทราเน็ตและภายนอกองค์การในการสื่อสารกับลูกค้าและผู้จำหน่ายสินค้าโดยใช้ระบบอินเทอร์เน็ต โดยศึกษาจากตัวอย่างในกรณีศึกษาของธุรกิจที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องใช้ความรู้พื้นฐานทางโครงสร้างธุรกิจ การสร้างฐานความรู้ ระบบอินเทอร์เน็ต และการวางแผนการตลาด
    3.1 วันพุธ  15.00 -16.00 น.   ห้อง GE 812 สาขาวิทยาศาสตร์
    3.2  e-mail; kanithahomjun@gmail.com   เวลา 19.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเป็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจาการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน  การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem based learning และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
 2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
 2.8 สามารถบูรณาการความรู้สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.บรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์
2.เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
1.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2. นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3.วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
  3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
  3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีทักษะทางปัญหาสอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้
(1)คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
(2)  สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
(3)   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(4)   สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.สอบกลางภาคและปลายภาค 
2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2  สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
  4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
  4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่มีอยู่ในปัจจุบัน มาศึกษา
3.การนำเสนอรายงาน
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
  5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 สอนโดยชื่อสื่อการสอน Power Point
1 . ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCS107 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 6. ทักษะปฏิบัติ การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 2.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคค ลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน และการทำแบบฝึกหัด ทุกสัปดาห์ 10%
3 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะปฏิบัติ การทดสอบย่อย ภาคทฤษฎี การทดสอบย่อย ภาคปฏิบัติ 4, 7, 10, 13 20%
4 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 8 20%
5 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคค ลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอบปลายภาค 6 20%
1) หนังสือบังคับ 1.1. กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและพนิดา พานิชกุล. 2550. วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering). กรุงเทพมหานคร: KTP COMP&CONSULT. 2) หนังสือเพิ่มเติม 2.1. Software Engineering, Ian Sommerville, 6 th Edition, 2001, Pearson, ISBN: 9780137035151, 0137035152
เว็บไซด์ต่างๆ โดยใช้ คำสำคัญ “วิศวกรรมซอฟต์แวร์” และคำสำคัญประจำบท ตามเนื้อหาของแต่ละบท เพื่อใช้ในการค้นหา
1.1 ตอบคำถามในชั้นเรียน 1.2 ตรวจสอบจากการบ้าน หรือ ใบงานของการปฏิบัติการทดลอง 1.3 ประเมินการให้คะแนนของนักศึกษาด้วยกันเอง ในการนำเสนองาน
ประเมินการสอนจากนักศึกษาเมื่อภาคเทอมการศึกษา และผลการเรียนของนักศึกษา
นำผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินการสอนของนักศึกษา ในปีก่อนหน้า มาวางแผนและปรังปรุงการสอน และมีการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระหว่างเขตพื้นที่
ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน และประเมินจากการนำเสนองาน และผลการปฏิบัติตามใบงานในห้องปฏิบัติการ
นำผลลัพธ์จากข้อ 1 และ 2 มาปรับปรุงแก้ไขในแต่ละสัปดาห์หลังจากประเมินแล้ว ส่วนกรณีผลการเรียน จะต้องทำการปรับปรุงเอกสารการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพของนักศึกษา