เทคโนโลยีหมักดอง

Fermentation Technology

1.1 รู้คุณสมบัติของจุลินทรีย์และเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องในการหมัก
1.2 เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก  และสาเหตุของการเสื่อมเสีย              
1.3 พิจารณาเลือกวิธีการหมักให้เหมาะสมกับอาหารแต่ละชนิด
1.4 มีทักษะในการทำอาหารหมัก
1.5 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาค้นคว้าวิธีการใหม่ๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีหมัก
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการหมัก หลักการและกระบวนการที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก       เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของการหมักดอง จุลินทรีย์ และเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการหมักดอง  ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการหมักดอง การผลิตอาหารหมักประเภทผักและผลไม้ เนื้อสัตว์  นม และธัญพืช  ทั้งในระดับครัวเรือน และอุตสาหกรรม มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่
จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            3 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน และการทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาเทคโนโลยีหมักดองไปใช้ในชีวิตจริง  พร้อมมอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคล  และมีการอภิปรายกลุ่ม
1.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.4 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการ และกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ 
2.2 มีความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้
2.3 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.1 บรรยายเกี่ยวกับการกระบวนการหมัก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ
2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหมักดอง
2.3 มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการเป็นกลุ่ม
2.1 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.2  สอบข้อเขียนเกี่ยวกับการกระบวนการหมัก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ
2.3 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม และประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ มีการค้นคว้าแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น  
3.3 สามารถใช้ทักษะและความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ ในการดูแลจัดการกระบวนการที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆการวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะปฏิบัติตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.1 มีภาคปฏิบัติการ ควบคู่กับหัวข้อภาคบรรยาย
3.2 อธิบายวิธีการฝึกเป็นลำดับขั้นตอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา แนะนำเทคนิคระหว่างการฝึกปฏิบัติ คอยกำชับนักศึกษาให้ติดตามการควบคุมบางขั้นตอนการผลิตที่สำคัญ และวิจารณ์คุณภาพผลิตภัณฑ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
3.3 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหมัก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ
3.1 สอบปฏิบัติ
3.2 ประเมินทักษะและการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติ
3.3 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3.4 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.5 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและแก้ไขข้อขัดข้องได้อย่างเหมาะสม
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 ใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณาการ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory learning)
4.2 มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.3 อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
4.4 แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่มทุกสัปดาห์อธิบายบทบาทและหน้าที่ของผู้นำและผู้ตามภายในกลุ่ม
4.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
 
5.1 สามารถอธิบายกลไกที่เกิดขึ้นในกระบวนการหมัก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการหมักผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ  เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้และเหมาะสม
 
5.1 บรรยายวิธีการคำนวณค่าต่างๆ
5.2 มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
5.1 ทดสอบการคำนวณ
5.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัย เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
5.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
5.4 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
5.5 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และความมีระเบียบ วินัยระหว่างการปฏิบัติงาน
6.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
6.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม
6.3 มีทักษะในการควบคุมคุณภาพอาหารที่เหมาะสม
6.1 อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
6.2 อธิบายผลิต กระบวนการ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
6.3 สาธิตและแนะนำทักษะการปฏิบัติ กำชับการควบคุมระหว่างกระบวนการปฏิบัติ และมีการสอบภาคปฏิบัติปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ โดยการฝึกการใช้เครื่องมือที่จำลองแบบของโรงงานอุตสาหกรรมและ การวิจัยโดยการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบ
6.1 ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
6..2 ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม
6.3 สอบภาคปฏิบัติและประเมินคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม เคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ รู้กฎระเบียบ ข้อกาหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนอง ต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรือ งานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคาแนะนา สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอ แนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจ วิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสาคัญของสาขาวิชา มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถปรับตัวทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นากลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง สามารถระบุและนาเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปล ความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการ นาเสนอที่เหมาะสมสาหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสาคัญ ของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่าง สม่าเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับ ใช้งานได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึง ความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT123 เทคโนโลยีหมักดอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ การนำเสนองาน การประเมินจาก active learning 9 และ 17 และการประเมินตลอดช่างระยะเวลาการเรียนการสอน/การสอบ/การดำเนินกิจกรรมทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ปรับตามสถานการณ์ ตามแผนการสอนและสภาวะแวดล้อมให้เกิดความเหมาะสมมากที่สุด โดยคำนึงถึงนักศึกษาและ TQF 100
ยกตัวอย่างเช่น
ดวงพร คันธโชติ. 2530. จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม. โอ. เอส  พริ้นติ้งเฮ้าส์.  กรุงเทพฯ. 191น.
เติมศักดิ์   โชติวรรณวิรัช.  2523.  การศึกษาจุลชีววิทยาของอาหารหมักพื้นเมือง : กะปิ.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 131 น.
นันทพร  เลี้ยวประเสริฐ. 2519. ลูกแป้งข้าวหมาก. ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 108 น.
นัยทัศน์  ภู่ศรันย์. 2532.  อุตสาหกรรมหมักดอง ภาควิชาอุตสาหกรรม คณะทรัพยากรธรรมชาติหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.  413 น.
นิอร  โฉมศรี. 2555. จุลชีววิทยาอาหาร. บริษัทเชียงใหม่ปรินท์ติ้ง จำกัด. เชียงใหม่. 170 น.
บุษบา  ยงสมิทธ์. 2540. จุลชีววิทยาการหมักวิตามินและสารสี. ภาควิชาจุลชีววิทยา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 275 น.
ประดิษฐ์  ครุวัณณา.  2525 . สาโทและสาเก.   อาหาร 14(1): 14-21.
ประดิษฐ์  ครุวัณณา.  2536.  ไวน์ข้าวของไทย. สามิตสาร 49(6) : 81-87.
แพรวพรรณ ห้องทองแดง.    2522.   การศึกษาจุลชีววิทยาของอาหารหมักพื้นเมือง: ปลาร้า.   วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .   112 น.
พุทธรินทร์  วรรณิสาร.  2527.  ผลของเครื่องเทศต่อชนิดของจุลินทรีย์ในลูกแป้งข้าวหมาก.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  183 น.
ไพโรจน์  วิริยจารี  2534. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการหมัก ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 466 น.
มนตรี  เชาวน์สังเกต .  2520.  การศึกษาขั้นพื้นฐานในการหมักสาโท. ปัญหาพิเศษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.   122 น.
มิ่งขวัญ  มิ่งเมือง. 2517. การศึกษาจุลินทรีย์ที่เกิดขึ้นในขณะหมักดองผักกาดเขียว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 133 น.
ลักขณา  รุจนไกรกานต์ อรัญ หันพงศ์กิตติกูล และไพโรจน์ วิริยจารี.2531. ผลของเชื้อบริสุทธิ์ต่อคุณภาพของแหนมที่ผลิตในฤดูร้อน. เกษตร 4(3): 183-196.
ลักขณา  รุจนไกรกานต์ .2533.   วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์.   ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 407 น.
วราวุฒิ  ครูส่ง. 2529.  เทคโนโลยีชีวภาพ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์  กรุงเทพฯ. 163 น.
วราวุฒิ  ครูส่ง  และ  รุ่งนภา  พงศ์สวัสดิ์มานิตย์. 2532. เทคโนโลยีการหมักในอุตสาหกรรม. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. กรุงเทพฯ. 209 น.
ศิวะ  วสุนธราภิวัฒก์. 2539. เหล้าไวน์และการบริการ. คณะอุตสาหกรรมท่องเที่ยวสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ. 140 น.
สมบุญ  เตชภิญญาวัฒน์. 2518. การศึกษาจุลินทรีย์ที่เป็นตัวการในระหว่างการทำแหนม.  วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 156 น.
สายสมร  ลิปตะสิริ. 2518. การศึกษาคุณสมบัติบางประการของเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำปลาไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 171 น.
สิทธิพันธุ์  ไชยนันทน์.2521. การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติบางประการของเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากน้ำปลาไทย ซึ่งผลิตจากปลาน้ำจืดและปลาน้ำเค็ม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.119 น.
สิรินทรเทพ  ภักดีศุภผล. 2523.  การหมักข้าวหมากด้วยเชื้อบริสุทธิ์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 115 น.
อรพิน ภูมิภมร.2526. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ เล่ม 2: จุลินทรีย์ในเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์และอาหารหมักพื้นเมือง. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.156 น.
Abdel-Hamida, M., Romeih, E., Huang, Z., Enomoto, T., Huang, L., and Li, L. 2020. Bioactive properties of probiotic set-yogurt supplemented with Siraitia grosvenorii fruit extract. Food Chemistry. 303: 125400.
Akgün, D., Gültekin-Ozgüven, M., Yücetepe, A., Altin, G., Gibis, M., Weiss, J., and Ozçelik, B. 2020. Stirred-type yoghurt incorporated with sour cherry extract in chitosan-coated liposomes. Food Hydrocolloids. 101: 105532.
Abiose, S. H., Allen, M. C. and Wood. B. J. B. 1982. Microbiology and biochemistry of  miso (soy paste) fermentation. Advances in Applied Microbiology 28: 239-265.
Adams, M.R. and Moss, M.O. 2008. Food Microbiology. The Royal Society of Chemistry, Cambridge. 577 p.
Barnett, J. A. , Payne, R. W. and yarrow, D. 1983. Yeasts: Characteristics and identification. Cambridge University Press, Cambridge , London. 811 p.
Beckhorn, E. J. 1967. Production of Microbial Enzymes in Microbial Technology. Reinhold Publishing Corporation. New York and London. 356 p.
Blackbrough, N. 1967. Biochemical and Biochemical Engineering Science. Vol 1. Academic Press, London and New York. 413 p.
Chomsri, N. 2008 Impact of protease activity of yeasts on wine fermentation and formation of volatile and non-volatile metabolites. Dissertation, Justus-Liebig-University Giessen.
Chomsri, N. Chanrittisen, T. and Thepkaew, N. 2010. Fermentation of pineapple juice to vinegar with different Inoculation protocols and its use for beverage production. The 2nd RMUTIC on Science and Technology Development in Creative Economy. Bangkok, Thailand. 24-26 November 2010.
Chomsri, N. Wongputtisin, P. and Muenaye, N. 2011. Thua-nao production using dry starter culture of Bacillus subtilis. The 3rd RMUTIC on Science and Technology Development in Creative Economy. Chonburi, Thailand. 14-16 December 2011.
Chomsri, N., Chanrittisen, T. and Thepkaew, N. 2012. Some sensory and chemical properties of mulberry wine fermented with mixed yeast cultures. Asian Journal of Food and Agro-Industry 5(04): 251-256.
Djordjevic, J., Pecanac, B., Todorovic, M., Dokmanovic, M., Glamoclija, N., Tadic, V. and  Baltic, M.Z. 2015. Fermented sausage casings. Procedia Food Science 5: 69-72.
 
Chomsri, N., Yangprasert, J., Wongkeaw, P., and Manowan, K. 2017.  Morphological and physicochemical properties of Karanda (Carissa carandas L.) at the ripening stage based on different clones.  In Proc. The 8th Rajamangala University of Technology International Conference (8th RMUTIC) “Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0”. IMPACT Muang Thong Thani Exhibition and Convention during 7-9 August 2017, Bangkok, Thailand.  pp.135-141.
Chomsri, N., Yangprasert, J., Wongkeaw, P., and Manowan, K. 2018. Effects of carbon sources and inoculation protocols on carissa acetification process. Proceeding: The 8th Rajamangala University of Technology International Conference (9th RMUTIC) “RMUT driving innovation for Thailand 4.0”. Rau Rasada Hotel, during 1th-3rd August 2017, Trang, Thailand. pp.2 20-230.
Chomsri, N., and Manowan, K. 2019. Effect of Inulin and Carissa carandas L. supplementation on physicochemical and microbiological properties of frozen yogurt. CIGR VI 2019 International Joint Conference on JSAM and SASJ, and CIGR VI Technical Symposium joining FWFNWG and FSWG Workshops” 3-6 September 2019, Hokkaido University. Sapporo, Japan.
 
Das, K., Choudhary, R., and Thompson-Witrick, K.A. 2019. Effects of new technology on the current manufacturing process of yogurt-to increase the overall marketability of yogurt. LWT - Food Science and Technology. 108: 69–80.
Delgado-Fernandez, P., Corzo, N., Olano, A., Hernandez-Hernandez, O., and Moreno, F.J. 2019. Effect of selected prebiotics on the growth of lactic acid bacteria and physicochemical properties of yoghurts. International Dairy Journal. 89: 77-85.
Grady, N.G., Petrof, E.O. and Claud, E.C. 2016. Review: microbial therapeutic interventions. Seminars in Fetal & Neonatal Medicine 21: 418-423.
Harrigan, W. F. 1998. Laboratory Methods in Food Microbiology. Academic Press Limited. California. 532 p.
Jay, J.M., Loessner, M.J. and Golden, D. 2005. Modern food microbiology. Springer. New York. 790 p.
Kristinsson, H. G., Crynen, S. and Yagiz, Y. 2008. Effect of a filtered wood smoke treatment compared to various gas treatments on aerobic bacteria in yellowfin tuna steaks. LWT - Food Science and Technology. 41: 746–750.
Li, H., Ho, V.T.T., Turner, M.S. and Dhital, S. 2016a. Encapsulation of Lactobacillus plantarum in porous maize starch. LWT - Food Science and Technology 74: 542-549.
Olasupo, N.A., Olukoya, D.K. and Odunfa, S.A. 1997. Assessment of a bacteriocin-producing Lactobacillus strain in the control of spoilage of a cereal-based African fermented food. Journal Folia Microbiologica. 42(1): 31-34.
Olveira, G. and González-Molero, I. 2016.  An update on probiotics, prebiotics and symbiotics in clinical nutrition. Endocrinología y Nutrición 63 (9): 482-494.
Panjai, L., Ongthip, K. and Chomsri, N. 2009. Complex fruit wine produced from dual culture fermentation of pineapple juice with Torulaspora delbrueckii and Saccharomyces cerevisiae. Asian Journal of Food and Agro-Industry. 2(2):135-139.
Rahman, S. 1999. Handbook of food preservation. Marcel Dekker, Inc. New York. 809 p.
Ray, B. 2004. Fundamental food microbiology. CRC Press. Boca Raton. 628 p.
Seo, S., Na, C., Youn, D., Yoo, S., Park, S. and Son, H. 2015. Effectiveness of banana additions for completion of stuck and sluggish fermentation of blueberry wine. Food Science and Technology 64: 1143-1148.
Van Vuuren, H. J. J. and Jacobs. 1992.  Killer yeasts in the wine industry: a review. American Journal of Enology and Viticulture 43(2): 119-128.
Wang, Z., Yan, M., Chan, X., Li, D., Qin, L. and Li , Z. 2013. Mixed culture of Saccharomyces cerevesiae for acetic acid production. Biochemical Engineering Journal 79:41–45.
Wood, B.J.B. 1998. Microbiology of fermented foods. Blackie Academic and Professional. London. 852 p.
Yan, Y., Qian, Y., Ji, F., Chen, J. and Han, B. 2013. Microbial composition during Chinese soy sauce koji-making based on culture dependent and independent methods. Food Microbiology 34: 189-195.
Yuan, Y., Fang, F., Chen, L., Yao, Q. and Chen, K. 2013. Directional isolation of ethanol-tolerant acetic acid bacteria from industrial fermented vinegar. European Food Research Technology 236:573–578.
 
Mohammad, M., and Ding, P. 2019. Physico-textural and cellular structure changes of Carissa congesta fruit during growth and development. Scientia Horticulturae. 246: 380–389.
Mousavi, M., Heshmati, A., Garmakhany, A.D., Vahidinia, A., and Taheri, M. 2019. Optimization of the viability of Lactobacillus acidophilus and physicochemical, textural and sensorial characteristics of flaxseed-enriched stirred probiotic yogurt by using response surface methodology. LWT - Food Science and Technology. 102: 80–88.
 
 
2.  เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม  
3.  เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
http://www.sciencedirect.com
http://microbewiki.kenyon.edu/index.php/MicrobeWiki
http://dric.nrct.go.th
www.foodnetworksolution.com/wiki,  Wikipedia คำอธิบายศัพท์
ประสบการณ์/ผลงานทางวิชาการของท่านอาจารย์ผู้สอน  ซึ่งได้จากการทำวิจัย  การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการทำงานร่วมกับสังคมชุมชน/ผู้ประกอบการ
การเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ โดยเน้นการพิจารณา พินิจ พิเคราะห์บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย 
 
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
-การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีการหมักในชั้นเรียน -การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน -การวิจัยในและนอกชั้นเรียน -การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการหมักจากวิทยากรภายนอกตามโอกาส -การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
      สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
           อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอน เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป
        จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้คือ  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  และเปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ