เรื่องเฉพาะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

Selected Topics in Food Science and Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
ศึกษาหลักการและวิทยาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมอาหารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
       เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านวิทยาการความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้ในการทำงาน ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเรื่องราวอันเป็นวิทยาการที่แสดงถึงความก้าวหน้า และที่น่าสนใจซึ่งเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
Advance and interesting topics associated with Food Science and Technology
จำนวน 2 ครั้งต่อสัปดาห์ เวลา 15.00– 16.30 น. ณ ห้องพักอาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร  
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
š1.5  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
2. มอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคล
3. อภิปรายกลุ่ม
1. ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
4. สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
š2.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สัมพันธ์กัน   ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ
š2.2 มีความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้
˜2.3 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. บรรยายเกี่ยวกับวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
2. มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
3. มอบหมายให้ทำรายงาน
1. สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2. สอบข้อเขียนเกี่ยวกับวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
3. ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
4. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
5. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
š3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้วิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการค้นคว้าแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง
˜3.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การค้นคว้าข้อมูล การนำเสนอผลงาน และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น  
š3.3 สามารถใช้ทักษะและความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ ในวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. บรรยาย ยกตัวอย่างวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
2. มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. สอบทฤษฎี ความเข้าใจในงานที่สืบค้น
2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. ประเมินผลการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และจากความสนใจของผู้ร่วมฟัง
5. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
š4.2 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
š4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายงานรายบุคคล
2. อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียน
3. ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาและหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ
1. ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
2. ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
3. สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
š5.1 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜5.2 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
˜5.3 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ  เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
˜5.4 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ อย่างเหมาะสม
š5.5 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.6 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้และเหมาะสม
1. บรรยายประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2. มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
1. ทดสอบความเข้าใจในเนื้อหาที่บรรยาย
2. ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัย เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
3. ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
4. ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
5. ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และความมีระเบียบ วินัยระหว่างการปฏิบัติงาน
š6.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการทำรายงานได้อย่างเหมาะสม
š6.2 มีทักษะในการสื่อสาร
š6.3 มีทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
1. อธิบายวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
2. การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นของผู้สอนและนักศึกษา
3. แนะนำทักษะการเลือกหัวข้อรายงานและนำเสนอผลงาน
1. ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
2. ประเมินการนำเสนอผลงาน
3. สอบภาคทฤษฎีและความเข้าใจในเนื้อหา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 ุ6 7 1
1 BSCFT109 เรื่องเฉพาะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล