น้ำนมและผลิตภัณฑ์

Milk and Milk Products

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบและคุณสมบัติน้ำนม การควบคุมคุณภาพน้ำนม การสุขาภิบาลในกระบวนการผลิต การเก็บรักษา ตลอดจนความเข้าใจในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์นม กฎหมาย การวางแผนการตลาด
เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และปรับเนื้อหาบางหัวข้อให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบน้ำนม คุณภาพน้ำนม การตรวจคุณภาพ การฆ่าเชื้อเพื่อถนอมและรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์จากนม กฎหมายเกี่ยวกับอาหารนมและ ผลิตภัณฑ์ การวางแผนการตลาดและการจําหน่ายผลิตภัณฑ์นม การจัดการของเสีย
โดยการติดต่อล่วงหน้า ที่ห้องพักอาจารย์ สาขาสัตวศาสตร์และประมง หรือ อีเมลล์ suthathip.ch.st@gmail.com
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม  ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของการมีวินัย ขยัน อดทน และการตรงต่อเวลา อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา การเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
1) ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่สาขาวิชาฯ/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม 
2) การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
3) ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่นๆในรายวิชา
4) นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1) ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
2) เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
1)  การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2) ทำรายงานรายบุคคล
3) งานมอบหมายรายบุคคล
4) งานมอบหมายรายกลุ่ม/คู่
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1) การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2) ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้   
3) มอบหมายงานกลุ่มจัดทำรายงานและนำเสนอเกี่ยวกับ องค์ประกอบน้ำนม การควบคุมคุณภาพน้ำนม หลักการถนอมน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประเภทของผลิตภัณฑ์นมชนิดต่างๆ การทำผลิตภัณฑ์นม  กฎหมายเกี่ยวกับอาหารนมและผลิตภัณฑ์
ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม รายงานกลุ่ม การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1) การทำงานเป็นทีม / งานกลุ่ม         
1) ความสำเร็จของงาน ความถูกต้อง เรียบร้อย ตรงเวลา
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงาน นำเสนอหน้าชั้นเรียนในรูปของ PowerPoint หรือ สื่อประกอบการนำเสนออย่างอื่น 
ความเหมาะสมของสื่อ ความถูกต้อง
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23024310 น้ำนมและผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,3.2 การทดสอบย่อย (Quiz) 2 ครั้ง 1-4 5%
2 2.1,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 1-18 20%
3 1.1,2.1,3.1,3.2 การสอบกลางภาค, การสอบปลายภาค 50%
4 2.1,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม, งานมอบหมาย 1-17 15%
5 1.3,1.4,4.1,4.2,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-17 10%
วรรณา  ตั้งเจริญชัย. นมและผลิตภัณฑ์นม. 2531. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2541. เคมีนมและผลิตภัณฑ์นม. ภาควิชาวิทยาศาสต์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วรรณา  ตั้งเจริญชัย. 2538. ปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพนมและผลิตภัณฑ์นม. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
พระราชบัญญัติอาหารประเภทน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม
มาตรฐานคุณภาพอาหาร
http://en.wikipedia.org/wiki/milk products
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอน ทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงาน รายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนด ทุกสาขาการศึกษา สาขาวิชา กำหนดให้อาจารผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรม    กลยุทธ์การสอน/ การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา มีการทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยสาขาละ 1 รายวิชา/ภาคการศึกษา และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ทวนสอบจากคะแนนสอบ และการสอบปากเปล่า
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น