ปฐพีวิทยาเบื้องต้น

Principles of Soil Science

ภาคบรรยาย - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดดิน - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพดิน - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเคมีดิน - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับชีวภาพของดิน - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อความเป็นประโยชน์ - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการดิน การอนุรักษ์ดินและการปรับปรุงดิน   ภาคปฏิบัติ
เพื่อให้นักศึกษารู้จักเครื่องมือในห้องปฏิบัติการปฐพีวิทยา สามารถปฏิบัติการ เก็บตัวอย่างดินเพื่อการวิเคราะห์  วิเคราะห์เนื้อดินและโครงสร้างดิน   วิเคราะห์ความชื้นในดิน  วัดปฏิกิริยาดิน  ตรวจสอบธาตุอาหารในดินโดยวิธีวิเคราะห์ทางเคมีในห้องปฏิบัติการและวิธีวิเคราะห์แบบtest kit  วิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผสมปุ๋ยเคมีได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับดิน สภาพแวดล้อม  การจัดการและ    การอนุรักษ์ดินตลอดจนการปรับปรุงดิน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้    ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติในด้านดิน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้    ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการจัดการดินและ    การปรับปรุงดินในสภาวะกาลปัจจุบัน  
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การกำเนิดดิน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน ธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมทางเคมีและกายภาพของดิน ที่มีต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การจัดการและการอนุรักษ์ดิน การปรับปรุงดิน
 - จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาและสถานที่ให้นักศึกษาทราบ เป็นครั้งๆ ไป ตามความเหมาะสม       จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์                   2 ชั่วโมง     จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            3 ชั่วโมง     จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง                 5 ชั่วโมง     จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา               - ชั่วโมง 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 วิธีการสอน
-กระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ -ให้โอกาสนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน - ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
1.3 วิธีการประเมินผล
1. ขั้นตอนการปฏิบัติการ ที่ถูกต้อง ตามเวลาที่กำหนดให้ 2. มีการเรียนสม่ำเสมอ ตรงเวลา 3. จัดเตรียม คืน และเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน ให้ตรงตามหมวดวัสดุ ให้เป็นระเบียบ 4. ทำความสะอาด คัดแยก กลบฝัง ทิ้งวัสดุ ของเสีย จากการทำงานให้ถูกต้องต่อสิ่งแวดล้อม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
2.2 วิธีการสอน
1.การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ    2.การสอนแบบการตั้งคำถาม 3.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
2.3 วิธีการประเมินผล
1. การนำเสนองานอภิปรายเป็นกลุ่ม 2. ข้อสอบอัตนัย 3. ข้อสอบปรนัย 4. รายงานการปฏิบัติการ สรุปวิจารณ์ด้านความรู้ วิชาการ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ การสอนแบบปฏิบัติ
1.ปฏิบัติการโดยใช้ ดินในพื้นที่ และนำข้อมูล มาประเมินลักษณะของดิน 2. การประเมินตนเอง 3. การประเมินโดยเพื่อน 4. การนำเสนองาน 5. ข้อสอบอัตนัย 6. ข้อสอบปรนัย
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 กิจกรรมกลุ่มสร้างความสัมพันธ์ต่อสังคมและกลุ่ม
1. การประเมินโดยอาจารย์และเพื่อน โดยสังเกตสื่อการกันในระว่างการทำงานกลุ่ม 2 มีการวางแผนร่วมกัน แบ่งกันทำงาน เพื่อเตรียมดิน วัสดุเพื่อปฏิบัติการ ดินและปุ๋ย 3. ร่วมกันสรุป เสนอแนวทางในการเลือกจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการผลิตพืช 4. รายงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำเสนองานโดยการบรรยาย
1.การนำเสนองานที่สามารถหาข้อมูลจากระบบสื่อสารทางไกล(อินเตอร์เน็ต) 2.ค้นหา ข้อมูลกลุ่มชุดดิน เพื่อการจัดการดิน การผลิตพืช และแก้ไขปรับปรุงสภาพดินอย่างเหมาะสมต่อพื้นที่
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล