การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

Digital Signal Processing

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ สัญญาณเวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การวิเคราะห์สเปกตรัม การลดอัตราสุ่มลงและสัญญาณสุ่มอีกครั้ง การปรับอัตราสุ่มตัวอย่างสัญญาณ การแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่อง วิธีความน่าจะเป็นสำหรับการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล การออกแบบวงจรกรองดิจิทัลแบบผลตอบสนองอิมพัลส์อนันต์ และผลตอบสนองอิมพัลส์จำกัด ระบบหลายอัตราสุ่ม การแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหน่วย กล่าวนำเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล เช่น การประมวลผลภาพ เสียงพูด เสียงเพลง การประมวลผลแบบแถวลำดับ และการประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน
1. ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กรอบแนวคิดแบบ CDIO มาประยุกต์ใช้ โดยการเลือกหน่วยเรียน/บทเรียนที่เหมาะสมสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนของรายวิชาต่อไป
2. ปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกิจกรรมในการการจัดการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่จะเกิดขึ้นหลังจากการจัดการเรียนการสอน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ สัญญาณเวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง การวิเคราะห์สเปกตรัม การลดอัตราสุ่มลงและสัญญาณสุ่มอีกครั้ง การปรับอัตราสุ่มตัวอย่างสัญญาณ การแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่อง วิธีความน่าจะเป็นสำหรับการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล การออกแบบวงจรกรองดิจิทัลแบบผลตอบสนองอิมพัลส์อนันต์ และผลตอบสนองอิมพัลส์จำกัด ระบบหลายอัตราสุ่ม การแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหน่วย กล่าวนำเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล เช่น การประมวลผลภาพ เสียงพูด เสียงเพลง การประมวลผลแบบแถวลำดับ และการประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน
 - อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
 - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 2 3 4 5 1 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE208 การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. พรชัย  ภววงษ์ศักดิ์, การประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบื้องต้น, 2000
2. รศ.ดร. เอก  ไชยสวัสดิ์, สัญญาณและระบบ, 2554
3. รศ.ดร. สมศักดิ์  ชุมช่วย, การประมวลผลสัญญาณเชิงเลขเบื้องต้น, 2554
4. Sanjit K. Mitra, Digital Signal Processing, 3rd, 2006
5. Alan V. Oppenheim, Alan S. Willsky and With S. Hamid Nawab, Signals and Systems, 1997
6. Vinay K. Ingle and John G. Proakis, Digital Signal Processing using MATLAB, 2nd, 2007