สัมมนา

Seminar

เพื่อศึกษารูปแบบ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา การจัดทำรายงาน และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
2.1 เพื่อศึกษารูปแบบ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ
2.2 เพื่อศึกษาการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา
2.3 เพื่อฝึกการจัดทำรายงาน และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
ศึกษารูปแบบ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา การจัดทำรายงาน และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Email  (keam5300@hotmail.com)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ  เป็นมนุษย์
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ลวดลายในการประยุกต์ใช้ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการสัมมนา รูปแบบ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ อภิปรายกลุ่ม การสัมมนาวิชาการ

กำหนดให้นักศึกษาหาการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา
การสังเกต เป็นวิธีการที่ดีในการเก็บข้อมูล พฤติกรรมในด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน ลักษณะนิสัย สามารถทำได้ง่ายทุกเวลา ทุกสถานที่ ซึ่งอาจสังเกตโดยมีเครื่องมือหรือไม่มีเครื่องมือก็ได้ ตามความเหมาะสม
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง  เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับ ตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน ความรู้ ความคิด ความสามารถและคุณลักษณะพฤติกรรม โดยเฉพาะความก้าวหน้าในการเรียนรู้จากครู จากเพื่อน จากผู้ปกครอง
การรายงายตนเอง เป็นการให้นักเรียนพูด เขียนบรรยาย หรือคำถามอื่นๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วิธีทำ ความพอใจในผลงาน  ความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายเปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้หรือสร้างความรู้ใหม่ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง
มีความรู้ เข้าใจในรูปแบบ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน และสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้  โดยการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสังเกต เป็นวิธีการที่ดีในการเก็บข้อมูล พฤติกรรมในด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน ลักษณะนิสัย สามารถทำได้ง่ายทุกเวลา ทุกสถานที่ ซึ่งอาจสังเกตโดยมีเครื่องมือหรือไม่มีเครื่องมือก็ได้ ตามความเหมาะสม
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง  เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับ ตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน ความรู้ ความคิด ความสามารถและคุณลักษณะพฤติกรรม โดยเฉพาะความก้าวหน้าในการเรียนรู้จากครู จากเพื่อน จากผู้ปกครอง
การรายงายตนเอง เป็นการให้นักเรียนพูด เขียนบรรยาย หรือคำถามอื่นๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วิธีทำ ความพอใจในผลงาน  ความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายเปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้หรือสร้างความรู้ใหม่ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา
- การมอบหมายให้นักศึกษาการเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ
- การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้จากการสัมมนา การจัดทำรายงาน และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
การสังเกต เป็นวิธีการที่ดีในการเก็บข้อมูล พฤติกรรมในด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน ลักษณะนิสัย สามารถทำได้ง่ายทุกเวลา ทุกสถานที่ ซึ่งอาจสังเกตโดยมีเครื่องมือหรือไม่มีเครื่องมือก็ได้ ตามความเหมาะสม
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง  เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน ความรู้ ความคิด ความสามารถและคุณลักษณะพฤติกรรม โดยเฉพาะความก้าวหน้าในการเรียนรู้จากครู จากเพื่อน จากผู้ปกครอง
การรายงายตนเอง เป็นการให้นักเรียนพูด เขียนบรรยาย หรือคำถามอื่นๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วิธีทำ ความพอใจในผลงาน  ความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายเปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้หรือสร้างความรู้ใหม่ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง
 - พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
 - พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงาน
 -พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 - จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
 - มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การเข้าร่วมสัมมนาวิชาชีพ หรือการสัมมนาวิชาการ
-  จัดทำรายงาน และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
การสังเกต เป็นวิธีการที่ดีในการเก็บข้อมูล พฤติกรรมในด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน ลักษณะนิสัย สามารถทำได้ง่ายทุกเวลา ทุกสถานที่ ซึ่งอาจสังเกตโดยมีเครื่องมือหรือไม่มีเครื่องมือก็ได้ ตามความเหมาะสม
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง  เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน ความรู้ ความคิด ความสามารถและคุณลักษณะพฤติกรรม โดยเฉพาะความก้าวหน้าในการเรียนรู้จากครู จากเพื่อน จากผู้ปกครอง
การรายงายตนเอง เป็นการให้นักเรียนพูด เขียนบรรยาย หรือคำถามอื่นๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วิธีทำ ความพอใจในผลงาน  ความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายเปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้หรือสร้างความรู้ใหม่ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
- พัฒนาทักษะในการสืบค้น ทั้งแหล่งให้ความรู้และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
- ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
   - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงาน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
   - นำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การสังเกต เป็นวิธีการที่ดีในการเก็บข้อมูล พฤติกรรมในด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน ลักษณะนิสัย สามารถทำได้ง่ายทุกเวลา ทุกสถานที่ ซึ่งอาจสังเกตโดยมีเครื่องมือหรือไม่มีเครื่องมือก็ได้ ตามความเหมาะสม
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง  เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน ผลงานนักเรียน ความรู้ ความคิด ความสามารถและคุณลักษณะพฤติกรรม โดยเฉพาะความก้าวหน้าในการเรียนรู้จากครู จากเพื่อน จากผู้ปกครอง
การรายงายตนเอง เป็นการให้นักเรียนพูด เขียนบรรยาย หรือคำถามอื่นๆ หรือตอบแบบสอบถามที่ครูสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วิธีทำ ความพอใจในผลงาน  ความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายเปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้หรือสร้างความรู้ใหม่ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคราพสิทธิ์ในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับการเรียนรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 44012001 สัมมนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ แบบทดสอบวัดความสามารถจริง (Authentic Test) ในปัจจุบันใช้ข้อสอบแบบปลายปิด เน้นให้นักเรียนตอบสนองข้อคำถามในลักษณะการนำความรู้ไปใช้ จากความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม จากสถานการณ์จำลองที่คล้ายคลึงหรือเรียนแบบสภาพจริง สัปดาห์ที่8 ,สัปดาห์ที่17 20คะแนนจาก100คะแนน
2 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม จัดการสัมมนาทางวิชาชีพและทางวิชาการในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ การจัดเก็บ เรียบเรียง สรุปองค์ความรู้ สัปดาห์ที่13-16 60คะแนนจาก100คะแนน
3 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1-7 และสัปดาห์ที่9-16 20คะแนนจากคะแนน100คะแนน
สุนันทา เลาหนันทน์ (2546) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ กรุงเทพมหานคร: ธนะการพิมพ์.
จำเนียร  จวงตระกูล (2552) การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ กรุงเทพมหานคร : ศูนย์กฎหมายธุรกิจ  อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
 อัมพร  ศุภชาติวงศ ม.ป.ป. การฝึกอบรม. สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน,กรุงเทพฯ : นูโอสถานุเคราะห์
 เกษกานดา สุภาพจน์ (2548) การจัดสัมมนา กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
 ไพพรรณ เกียรติโชติชัย (2546) หลักการสัมมนา กรุงเทพมหานคร การศึกษา
  สมคิด บางโม (2551) เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม กรุงเทพมหานคร วิทยพัฒน์
ไม่มีเอกสารและข้อมูลสำคัญ
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการสืบค้นรายวิชา เช่น http://www.pmat.or.th, http://www.npu.ac.th/General/pdf/r3.pdf
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
            - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
            - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
            - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
            - ผลการสอบ
            - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
            - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
            - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
            - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
            - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ