การบริหารจัดการอุตสาหกรรม

Industrial Management

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจระบบการผลิตในอุตสาหกรรม  2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิต เพื่อส่งงานตามกำหนดได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาทราบแนวทางการควบคุมต้นทุนการผลิต และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้  4. เพื่อให้นักศึกษารู้จักวิธีการควบคุมเครื่องจักร และความปลอดภัยในการทำงาน 5. เพื่อให้นักศึกษารู้จักจิตวิทยาอุตสาหกรรม ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นภายในองค์กร 6. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ด้านการวางแผน และการจัดการอุตสาหกรรมไปใช้ร่วมกับองค์ความรู้ด้าน อื่น และนำไปประยุกต์ใช้ได้
:   มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนโดยเน้นให้มีโปรเจ็คเพื่อให้นักศึกษานำความรู้ในด้านการการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการไปประยุกต์ใช้และสามารถใช้ความรู้ที่ศึกษาในวิชานี้เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับวิทยานิพนธ์
ศึกษาการจัดการบริหารองค์กร เพื่อพัฒนากรรมวิธีการผลิต และเทคนิคการวางแผนควบคุมการผลิตในระบบอุตสาหกรรม
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีจิตส านึกและตระหนักในการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น
- สอดแทรกในเนื้อหาวิชาเรียน โดยยกตัวอย่างกรณีศึกษาตาม สถานการณ์ที่เหมาะสม - จัดกิจกรรมพิเศษเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ - การสอนแบบอภิปรายจาก ตัวอย่างกรณีศึกษา - บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่สอดคล้อง -การเป็นแบบอย่างที่ดีของ อาจารย์
-ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกต พฤติกรรมการแสดงออกของ นักศึกษาในชั้นเรียน และระหว่าง การทำกิจกรรม -พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงาน ที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา - มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้น ามาทำ รายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
˜ 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
          ™ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
          ™ 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
          ™ 2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
  1. บรรยายตามสื่อการสอนที่เตรียมไว้พร้อมทั้งมีเอกสารประกอบการสอนให้นักศึกษาตามเนื้อหาที่เรียนเพื่อเสริมความเข้าใจ
2.  ให้อภิปรายกลุ่ม และวิเคราะห์กรณีศึกษาเป็นกลุ่มภายในห้อง
3. ให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. เรียนรู้ผ่านวิดีทัศน์โดยเปิดให้ดูในห้องเรียนและอภิปราย ตอบคำถาม
5. พาไปทัศนะศึกษา ดูงาน ยังสถานที่จริง
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
™ 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
          ™ 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
          ˜ 3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการ
ตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          ™ 3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
          ™ 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
  1. ให้ทำแบบฝึกหัดและการบ้านโดยมีการเฉลยในชั้นเรียนทุกครั้ง
2. อภิปรายกลุ่ม และวิเคราะห์กรณีศึกษาเป็นกลุ่มภายในห้อง
3. ให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. เรียกตอบเป็นรายบุคคลระหว่างเรียน   
  1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์
2. ตรวจการบ้านและแบบฝึกหัดของนักศึกษาเพื่อวัดความเข้าใจของนักศึกษา
™ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
          ™ 4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้ง
ให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
          ™ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
          ˜ 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
          ™ 4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำ งาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
  1. มอบหมายงานรายกลุ่ม 
2. การนำเสนอรายงาน   
1.ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.ดูผลงานและเนื้อหารายงานที่นำเสนอ  
3. สอบถามพฤติกรรมการแบ่งงานกันในกลุ่ม ทดสอบโดยเรียกตอบรายบุคคล
4. ตรวจสอบว่าส่งงานครบถ้วนทันตามกำหนดเวลา
™ 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
          ™ 5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ
ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
          ™ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
          ˜ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
  ใช้ Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
  1.ดูรูปแบบ เนื้อหา และสื่อที่ใช้ในการนำเสนอรายงานหน้าชั้น    
2. ตรวจสอบความถูกต้องของการคำนวณตัวเลขและสถิติ
3. ส่งงานผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ครบถ้วนทันตามกำหนด
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
สหกิจศึกษา/ฝึกงาน
โครงงาน   
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ .ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID113 การบริหารจัดการอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบย่อย 3, 11 20
2 สอบกลางภาค 8 20
3 สอบปลายภาค 17 30
4 การเข้าชั้นเรียนและความตรงต่อเวลา ตลอดเทอม 10
5 การมีส่วนร่วมอภิปราย แสดงความ คิดเห็นในชั้นเรียน ความสนใจเรียน ตลอดเทอม 5
6 -การปฏิบัติการ และรายงานกลุ่ม -รายงานส่วนบุคคล และสรุปแผนที่ ความคิด 16 15
กตัญญู หิรัญสมบูรณ์. 2543. การบริหารอุตสาหกรรม. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. 330 หน้า ค านาย อภิปรัชญาสกุล. 2547. โลจิสติกส์เพื่อการผลิต และการจัดการด าเนินงาน. โฟกัสมีเดียแอนด์ พับลิชชิ่งจ ากัด. กรุงเทพฯ. 520 หน้า ชุมพล ศฤงคารศิริ. 2542. การวางแผนและควบคุมการผลิต. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
เสาวนีย์ เลิศวรสิริกุล. 2552. การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร. ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 326 หน้า. ประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์, วันชัย สมชิต, รัชนีกร โชติชัยสถิตย์ และจิระภรณ์ ตันติชัยรัตนกูล. 2545. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร. หน่วยที่ 8-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. 2548. จิตวิทยาอุตสาหกรรม. ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. กรุงเทพฯ. 472 หน้า พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล. 2544. การบริหาร และจัดการองค์กรอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. 256 หน้า. ยุทธ ไกยวรรณ. 2549. การวางแผนและการควบคุมการผลิต. ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ. ยุทธ ไกยวรรณ. 2002. การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม. ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ - นักศึกษาทำแบบประเมินการสอนของอาจารย์ตามรายวิชาที่ทางคณะจัดทำการประเมิน และส่งผลการ ประเมินรายวิชาให้อาจารย์ผู้สอนทราบเพื่อปรับปรุง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการสอนของอาจารย์ในระหว่างเรียนโดยไม่ เปิดเผยชื่อ - ผลการสอบ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือปัญหาและอุปสรรคในการเรียนรู้ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา - น าผลการประเมินจากข้อ 2 มาพิจารณาและปรับใช้ตามความเหมาะสม - มอบหมายให้นักศึกษาท าสรุปแผนที่ความคิดหลังจากเรียนจบในแต่ละบท เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ที่ ได้เรียนไปแล้ว
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ ย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - มีการสุ่มนักศึกษามาทดสอบโดยใช้แบบทดสอบที่ไม่ใช่ข้อสอบที่เคยสอบมาแล้ว
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - ศึกษาดูงาน/เชิญวิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละหัวข้อมาสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองใน เรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ