เทอร์โมไดนามิกส์

Thermodynamics

หลังจากเรียนวิชานี้แล้วนักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้

สามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ เพื่อให้เข้าใจในกฏข้อต่างๆของเทอร์โมไดนามิกส์  เพื่อให้เข้าใจในเรื่องของงานและความร้อน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับพลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเอนโทรปี เพื่อให้เข้าใจในหลักการของพื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงาน เพื่อให้เข้าใจในระบบของเครี่องยนต์ความร้อน เครื่องทำความเย็นและปั๊มความร้อน
เพื่อให้การปรับปรุงมีเนื้อหาสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ 1  และกฎข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ งานและความร้อน พลังงานและความสัมพันธ์ของพลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ที่มีการไหลสม่ำเสมอ เครื่องยนต์ความร้อน ปั๊มความร้อน และเครื่องทำความเย็น เอนโทรปี การเปลี่ยนรูปของพลังงาน ก๊าซอุดมคติ กระบวนการต่างๆ ของเทอร์โมไดนามิกส์ พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น
1
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- การเข้าชั้นเรียนตรงตามเวลา
- กำหนดให้นักศึกษาส่งแบบทดสอบและการบ้านตรงตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การเข้าเรียนตรงตามเวลา
- ประเมินจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการที่สำคัญของเทอร์โมไดนามิกส์
- มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษา
- ให้นักศึกษารวมกลุ่มเรียนรู้ในชั้นเรียน เพื่อเสริมความเข้าใจทฤษฏีพื้นฐาน
- คะแนนจากงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย
- คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- บรรยายถึงหลักการและกระบวนการแก้ปัญหาที่ใช้ในการแก้ปัญหาทางเทอร์โมไดนามิกส์
- มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนและการบ้าน
- คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษาได้ค้นคว้า วิเคราะห์ สรุปผลเป็นรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- คะแนนจากงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายและคะแนนการนำเสนอ
- สังเกตุจากพฤติกรรมนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม การมีส่วนร่วม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาการคำนวณทั้งในชั้นเรียนและเป็นการบ้าน
- ใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สืบค้นข้อมูล คำนวณ และวิเคราะห์ผล
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
- คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 31043101 เทอร์โมไดนามิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 4.4 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.4 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 ทดสอบย่อย 2-7, 9-16 10%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 สอบกลางภาค 8 30%
5 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 สอบปลายภาค 17 30%
- Yunus A. Cengel, Michael A. Boles (2006). Thermodynamics An Engineering Approach fifth Edition
-  Paper จากฐานข้อมูลต่างๆ
-  สมชัย อัครทีวา, ขวัญจิต วงษ์ชารี (2554). เทอร์โมไดนามิกส์ Thermodynamics 7/e
-  การประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา
-  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          -  พิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา
          -  พิจารณาจากการประเมินของนักศึกษา
          -  พิจารณาจากความเห็นของอาจารย์ประจำหลักสูตร
          -  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา
          -  ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
          -  นำผลการประเมินการสอนและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ มาพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน