ออกแบบนิเทศศิลป์ 4

Visual Communication Design 4

1เพื่อให้นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ  และเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2.มีความรู้ด้านการออกแบบนิเทศศิลป์เรื่องการออกแบบรณรงค์โฆษณา การออกแบบสื่อสารแบรนด์
3.มีทักษะในการออกแบบนิเทศศิลป์ในรูปแบบสื่อต่างๆ สามารถ และทำงานอย่างเป็นระบบ
4สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีม
5.นำเสนองานโดยใช้สื่อ ภาษา  และเทคโนโลยีได้อย่างเมาะสม
ปรับปรุง  กิจกรรม  งานมอบหมาย  และการประเมินผล   ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ในการโฆษณา  องค์ประกอบการคิด  หลักการและเทคนิคสร้างสรรค์  การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์โฆษณา  เทคนิคและกระบวนการผลิตสื่อโฆษณาในรูปแบบต่างๆ การจัดทำแผนรณรงค์โฆษณา
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)  โดยระบุเวลาไว้ที่บอร์ดสาขา และในคาบแรกของการเรียน
1.มีจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรมในการอยู่ร่วมกัน
2.มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป์ (ดำ) 
3.มีวินัย และตรงต่อเวลา
4.เคารพในสิทธิคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ในการแสดงออกในการอยู่ร่วมกันและการปฏิบัติงาน
การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
บรรยาย
กรณีศึกษา  ตัวอย่าง
วิเคราะห์ผลงาน
ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา
 
ประเมินผลจากการวิเคราะห์ชิ้นงานปฏิบัติ เนื้อหาด้านศาสนา เชื้อชาติ เพศ และการลอกเลียนผลงาน 
ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของหลักสูตร คณะ
1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ การรณรงค์โฆษณา  การื่อสารแบรนด์
2.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านการออกแบบนิเทศศิลป์
3.สามารถบูรณาการความรู้ด้านหลักการนิเทศศิลป์กับความรู้สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง (ดำ)
บรรยาย  ยกตัวอย่าง
อภิปรายกลุ่ม
กรณีศึกษากลุ่ม
การศึกษาค้นคว้าทำรายงานด้วย
ปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลา 
 
ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว
ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากกิจกรรมนอกชั้นเรียนที่มอบหมาย
1.มีทักษะในปฏิบัติงานออกแบบนิเทศศิลป์จากการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษามา
2.มีทักษะในการนำความรู้ด้านหลักการออกแบบนิเทศศิลป์มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ (ดำ)
มอบหมายงานปฏิบัติในชั้นเรียน
กิจกรรมศึกษาค้นคว้า 
การมอบหมายให้ทำโครงงาน
ประเมินจากรายงานศึกษาค้นคว้า
ประเมินจากผลงานปฏิบัติ
ประเมินจากผลงานโครงงาน  รายงานโครงงาน
1.มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีงาม
2.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ดำ)
3.สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม(ดำ)
การมอบหมายงานกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่เป้นปัญหาทางสังคม
โครงงาน
ปฏิบัติงาน
การอภิปราย
ประเมินกระบวนการทำงานโดยให้นักศึกษาเขียนกระบวนการทำงาน
ตรวจผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยวเกี่ยวกับประเด็นในสังคม
 
1.สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.สามารถสืบค้น ศึกษา  วิเคราะห์และและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
3.สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
1.การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน
2.การนำเสนองานจากการศึกษาค้นคว้า  ทั้งผ่านสื่อ และนำเสนอด้วยวาจา
3.การสอนโดยใช้เทคโนโลยี   ออนไลน์  ส่งงานผ่านออนไลน์
4.อภิปรายกลุ่ม
ประเมินกระบวนการทำงาน  ด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ
ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม  และเดี่ยว
ประเมินผลจากสื่อ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43011304 ออกแบบนิเทศศิลป์ 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1) 1(3) 1(2) 1(4)) การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลา วิเคราะห์ผลงานการไม่ลอกเลียนแบบงานผู้อื่น กระบวนการทำงาน ตลอดสัปดาห์ 10%
2 2(1) 2(2) 2(3) สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4 9 17 20%
3 3(1) 3(2) 4(1) 4(2) 4(3) 4(4) 5(2) ผลงานปฏิบัติ ผลงานโครงงาน รายงานศึกษาค้นคว้า ผลงานปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา ผลงานโครงงาน(15,16) รายงานศึกษาค้นคว้าโครงงาน (15,16) 50%
4 5(1) 5(2) 5(3) 4(1) 4(2) 4(3) 4(4) การนำเสนอ การใช้สื่อ และการทำงานกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม ผลงานประเด็นการช่วยเหลือสังคม ตลอดภาคการศึกษา 20
เพ็ญศรี  จุลกาญจน์ (2555).เอกสารรายละเอียดประกอบการบรรยายวิชา  ออกแบบนิเทศศิลป์4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ไม่มี
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.(2553).การคิดเชิงสร้างสรรค์.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ: ซัคเซส 
                          มีเดีย จำกัด.
      การ์ เรย์โนลด์ส .(2553). พรีเชนเทชั่นเซน กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ขวัญข้าว ๙๔
      กัญจนิพัฐ  วงศ์สุเมธรต์.(2549). กระบวนการทำงานโฆษณา. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ                        มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
      กัญญา  ศิริกุล.(2541).การบริหารกิจการโฆษณา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
     กัลยากร วรกุลลัฎฐานีย์ และ พรทิพย์  สัมปัตตะวานิช.(2551). การโฆษณาเบื้องต้น.
                        กรุงเทพสำนักพิมพ์     มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
     ดลชัย บุณยะรัตเวช.(2545).Brand Voice .กรุงเทพฯ: ทิปปิ้ง พอยท์
     ดลชัย บุณยะรัตเวช.(2555).สร้างแบรนด์ .กรุงเทพฯ: กรุงเทพธุรกิจมีเดีย
     มนต์ทิวา  มหาคุณ และนเรศ  มหาคุณ.(2551).สร้างสรรค์สร้างได้. กรุงเทพฯ:บริษัทซีเอ็ด ยูเคชั่น
     เอ็ดเวิร์ด  เดอร์โบโน่ (2553).ทลายกรอบความคิด.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย  
      ศิริกุล เลากัยกุล.(2546).สร้างแบรนด์ . กรุงเทพฯ : อัมรินทร์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา
        1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
        1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมใน
การระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ปรับปรุงเนื้อหา
3.2   ปรับปรุงวิธีสอน  กิจกรรม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอน  สอบถามนักศึกษา  
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบแผนการสอนกับหลักสูตร  แผนการสอนกับการสอนจริง
4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก  ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ในปีการศึกษาต่อไป เปลี่ยนไปใช้หลักสูตรใหม่  ปรับปรุงเนื้อหาโดยลดเนื้อหาเกี่ยวการวางแผนสื่อ  เน้นหลักการออกแบบ  การโฆษณาออนไลน์