การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ

Visual Effect

ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ด้านการออกแบบ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพออกแบบมัลติมีเดีย
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ด้านความรู้

˜ 1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาด้านออกแบบมัลติมีเดีย ™ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาออกแบบสื่อสาร ˜ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
ด้านทักษะทางปัญญา

˜ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบมัลติมีเดีย ˜ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

 
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

™ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี ™ 2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ 3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

 
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

˜ 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ 2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้
           1. ความรู้ด้านสารสนเทศ
                   1.1 การเข้าถึงและการประเมินข้อมูลสารสนเทศ
                   1.2 การใช้และการจัดการสารสนเทศ
           2. ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
                   2.1 การวิเคราะห์สื่อ
                   2.2 การผลิตสื่อ
                   2.3 การพิจารณาและตัดสินใจ
                   2.4 การแก้ปัญหา
           3. ความรู้ด้านเทคโนโลยี
                   3.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
           การสร้างภาพเทคนิคพิเศษในงานภาพเคลื่อนไหวจึงมีเอกลักษณ์ที่สามารถถ่ายทอดความรู้สึกหรือข่าวสารผ่านเทคโนโลยีทางการสื่อสารได้เป็นอย่างดี โดยปรับปรุงให้นักศึกษาได้ซักถามก่อนปฏิบัติงานจริง ทำการสอน Matte Painting ให้เข้มข้นกว่าเดิม โดยการเน้นให้ผู้เรียนได้ทำสื่อเพื่อนำเสนอในรูปแบบการสร้างภาพเทคนิคพิเศษของภาพยนตร์ โฆษณา และแอนิเมชั่น ที่จะมาช่วยเติมเต็มในสิ่งที่ขาดหายไปได้ในโลกแห่งความจริง จึงมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน ทำให้รายวิชาการสร้างภาพเทคนิคพิเศษ จึงได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อบอกเนื้อหาในทางการคิดสร้างสรรค์ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ การผลิตสื่อ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
           จึงสามารถพัฒนานักศึกษาให้รู้และเข้าใจการที่จะใช้การสร้างภาพเทคนิคพิเศษได้ถูกกลุ่มเป้าหมายหรือถึงกลุ่มผู้บริโภค พัฒนาไปใช้ในงานต่างๆ ได้ และเพื่อให้สามารถปฏิบัติการทำงานในระบบสายงานสร้างภาพเทคนิคพิเศษต่างๆ ได้ในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปในศตวรรษที่ 21
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การทำเทคนิคพิเศษของภาพแอนิเมชั่น โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปประเภท สร้างภาพเทคนิคพิเศษและกราฟิกเคลื่อนไหว
 3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมง/สัปดาห์       (เฉพาะรายที่ต้องการ)
˜ 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมด้านออกแบบมัลติมีเดีย ™ 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบมัลติมีเดีย ™ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
/    บรรยาย    1(3) /    มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)    1(1),1(2) /    มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน)    1(1),1(2) /    มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน)    1(1),1(2),1(3) /    นำเสนอข้อมูล    1(1) /    ฝึกปฏิบัติ    1(3) /    ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ    1(1),1(3),1(4)
/    ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน    1(3),1(4) /    ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด    1(2),1(3) /    ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง    1(1),1(2) /    ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน)    1(1),1(2) /    ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)    1(1),1(2),1(3) /    ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)    1(1),1(2) /    ประเมินจากการสอบข้อเขียน    1(3)
/    ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)    1(1),1(3),1(4)
˜ 1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาด้านออกแบบมัลติมีเดีย ™ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาออกแบบสื่อสาร ˜ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
/    บรรยาย    2(1),2(2),2(3) /    มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)    2(1),2(2) /    มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน)    2(1),2(2),2(3) /    มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน)    2(1),2(3) /    นำเสนอข้อมูล    2(1),2(3) /    ฝึกปฏิบัติ    2(1),2(3)
 
 
/    ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน    2(1) /    ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง    2(1),2(2) /    ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน)    2(1),2(2),2(3) /    ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)    2(1),2(2),2(3) /    ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)    2(1),2(3) /    ประเมินจากการสอบข้อเขียน    2(1) /    ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)    2(1),2(2),2(3) /    ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)    2(3)
 
˜ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบมัลติมีเดีย ˜ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
/    มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน)    3(1),3(2) /    มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน)    3(1),3(2) /    สาธิต/ดูงาน    3(1),3(2) /    ฝึกปฏิบัติ    3(1),3(2)
 
/    ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน)    3(1),3(2) /    ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)    3(1),3(2) /    ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)    3(1),3(2) /    ประเมินจากการสอบข้อเขียน    3(1),3(2) /    ประเมินจากการสอบปฏิบัติ    3(1),3(2)     /    ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)    3(1),3(2)
™ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี ™ 2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ 3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
/   มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)    4(2) /    มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน)    4(2) /    มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน)    4(1),4(3) /    ฝึกปฏิบัติ    4(3),4(4) /    ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ    4(1),4(2),4(3),4(4)
 
/    ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน    4(1) /    ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน)    4(2) /    ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)    4(3),4(4) /    ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)    4(3),4(4) /    ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)    4(3),4(4)     
 
˜ 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ 2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
/    มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)    5(2) /    มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน)    5(1),5(2) /    มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน)    5(1),5(2),5(3) /    นำเสนอข้อมูล    5(1)
 
/    ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน)    5(1) /    ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)    5(1),5(2) /    ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)    5(2),5(3) /    ประเมินจากการสอบข้อเขียน    5(1),5(2)
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43012014 การสร้างภาพด้วยเทคนิคพิเศษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(3),1(4) 2(1),2(2),2(3) 4(1),4(3),4(4) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1-15 5
2 1(2),1(3) 2(1),2(2) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-15 5
3 1(2),1(3) 2(1),2(2),2(3) 3(1),3(2) 4(2),5(1) ผลงานรายบุคคล (การสร้างภาพเทคนิคพิเศษ) 2-15 20
4 1(1),1(2),1(3) 2(1),2(2),2(3) 3(1),3(2) 4(2),4(3) 5(1),5(2) ผลงานกลุ่ม (การสร้างภาพเทคนิคพิเศษ) 2-15 30
5 1(2),1(3) 2(3),3(1),3(2) 4(2),4(3) 5(2),5(3) การนำเสนอ 2-15 10
6 1(3) 2(1) 3(2) 5(1),5(2) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9-17 30
   คู่มือการใช้งาน After Effect CS6.ณัฐพงศ์ วณิชชัยกิจ . บริษัท ไอดีซี พรีเมีนร์ จำกัด นนทบุรี : เมษายน 2556
ไม่มี
   เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการสร้างภาพเทคนิคพิเศษโดยใช้โปรแกรม Adobe After Effect CC
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ