ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประเภทอุปโภคบริโภค

Consumer Industrial Product Design

อุตสาหกรรม  ฝึกปฏิบัติ การนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  กำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย กำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ให้นักศึกษามีทักษะในการปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษามีทักษะในการฝึกปฏิบัติการนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
 
ฝึกปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประเภทอุปโภคบริโภค สร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ กำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์ พัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีกลไกอย่างง่าย ผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 
ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนวันละ 2 ชั่วโมงรวม 14 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทาง nang.tn@gmail.com    และทางเฟสบุ๊ค Tumanoon ninlawan  ซึ่งได้ประกาศให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เข้าเรียนในสัปดาห์แรก
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่นๆ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น 3. ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน        โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้ 4. ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
1.2 วิธีการสอน
    วิธีการสอน สอนโดยการบรรยายและสาธิต ประกอบสื่อการสอนและตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
1.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%  และจากการสอบ 30% จิตพิสัย 10%
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษาจะต้องมีทักษะปฏิบัตินำความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์
2.2 วิธีการสอน
สอนโดยการบรรยายและสาธิต ประกอบสื่อการสอนและตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
2.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%  และจากการสอบ 30% จิตพิสัย 10%
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล