การปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง

Advanced Plant Breeding

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
1.1 แนวความคิดและยุทธศาสตร์ทางการปรับปรุงพันธุ์พืช
1.2 อธิบายการใช้เชื้อพันธุกรรมพืชสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช
1.3 อธิบายการใช้ประโยชน์จากลักษณะพันธุกรรมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสม
1.4 อธิบายองค์ความรู้และแนวคิดการใช้ข้อมูลทางสรีรวิทยาการผลิตพืชที่เกี่ยวข้องกับ
การปรับปรุงพันธุ์
1.5 อธิบายองค์ความรู้และแนวคิดการใช้ข้อมูลทางสรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับการ
ปรับปรุงพันธุ์
1.6 อธิบายการปรับปรุงพันธุ์พืชสวนและพืชไร่
นักศึกษาสามารถพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง เพื่อให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสถานการณ์ที่เหมาะสม
แนวความคิดและยุทธศาสตร์ทางการปรับปรุงพันธุ์พืช เชื้อพันธุกรรมพืชสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืชการใช้ประโยชน์จากลักษณะพันธุกรรมเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสมเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการปรับปรุงพันธุ์พืชสวนและพืชไร่
Plant breeding strategy, germplasm for plant breeding, male sterile utility for hybrids and horticultural and agronomy up-to-date technologies.
-
™ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜ 1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜ 1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
™ 1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
™1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
™ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา
3. นักศึกษาประเมินตนเอง
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
˜ 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
š 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
š 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานสัมมนา พร้อมตอบข้อซักถามได้
1. การนำเสนอรายงานที่สอดคล้องกับบทเรียน
˜ 3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
˜ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
3. การสอนแบบบรรยาย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
1. ประเมินจากการตอบปัญหา1. การนำเสนอรายงานที่สอดคล้องกับบทเรียน
2. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
˜ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
˜ 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
˜ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายผสมผสานศาสตร์ต่างๆ
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
š 5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนทางวิชาการที่ค้นคว้าที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อในแผนการสอน
-
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการเขียนรายงานและนำเสนอรายงานสัมมนาวิชาการแบบปากเปล่า
ส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 5.1, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30 %
2 1.2, 1.3, 2.1, 2.2 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 4.4, 5.2, 5.3 รายงาน 8, และ 17 20 %
3 1.2,1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 5.1, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30 %
4 1.2, 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-17 10 %
5 1.2, 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-17 5 %
6 4.1,4.3,4.4 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-17 5 %
ประวิตร พุทธานนท์. 2548. ไบโอเมตริกส์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช ภาควิชาพืชไร่
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้: 243 น.
พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2550. เชื้อพันธุกรรมและความรู้ค้านพันธุศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืช.
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช วันที่ 23 -27 เมษายน 2550
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม. (เอกสารโรเนียว)
สายัณห์ สดุดี 2534. สภาวะขาดน้ำในการผลิตพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สงขลา. 217 น.
Andre’ Charrier, Michel Jacquot, Serge Hamon and Dominique Nicolas. 2001.
Tropical Plant Breeding. Science Publishers, Inc. U.S.A. 565 p.
Banga S.S. and S.K. Banga. 1998. Hybrids Cultivar Development. Narosa Publishing House.
London. 536 p.
Basra Amarjit S. 1999. Hybrid Seed Production in Vegetables : Rationale and Methods in
Selected Crops. J. of New Seeds, Volume 1, Number ¾. 135 p.
Bassett Mark J. Breeding Vegetable Crops. 1986. The AVI Publishing Company, Inc. 584 p.
Blum, A. 2000. Plant Breeding for Stress Environments. CRC Press, Inc. USA. 223 p.
Bosland P.W. and E.J. Votava. 2000. Peppers : Vegetable and Spice Capsicums.
CABI Publishing. USA. 204 p
Chahal G.S. and S.S. Gosal. 2002. Principles and Procedures of Plant Breeding :
Biotechnological and Conventional Approaches. Alpha Science International Ltd.
U.K. 604 p.
Christiansen, M.N. and C.F.Lewis. 1982. Breeding plants for less favorable environments.
John Wiley & Sons, Inc. USA. 459 p.
Cooper M. and G. L. Hammer. 1996. Plant Adaptation and Crop Improvement.
CAB International. UK. 625 P.
Engels J. M.M. and L. Visser. A guide to effective management of germplasm
collections. . IPGRI Handbooks for Genebanks No. 6. International Plant Genetic
Resources Institute, Italy. 165 p.
Fageria, N.K. 1992. Maximizing crop yields. Marcell Dekker,Inc. New York, USA. 274 p.
 
 
Frankel R. and E. Galun. 1977. Pollination Mechamnisms, Reproduction and
Plant Breeding. Spriger-Verlag, Germany. 281 p.
Frankel R. , G.A.E. Gall, Linskens H.F. and D. de Zeeuw. 1977. Monographs on Theoretical
and Applied Genetics 3. . Spriger - Verlag, Germany. 223 p.
Gepts, P. 2004. Crop domestication as a long – term selection experiment.
In Plant Breeding Reviews, Volume 21 ed. By Janick J. : 1 -151.
Hale, M.G. and D.M. Orcutt. 1987. The physiology of plants under stress. John Wiley
& Sons, Inc. USA. 206 p.
Hall, A. E. 2001. Crop responses to environment. CRC Press. USA. 232 p.
Hill, J.; H.C. Becker and P.M.A. Tigerstedt. 1998. Quantitative and ecological aspect of plant breeding. Chapman & Hall Inc. UK. 275 p.
Hodgkin T., A.H.D. Brown, Th.J.L. van Hintum and E.A.V. Morales. 1995. Core Collection of
Plant Genetic Resources. IPGRI John Wiley & Sons. UK. 269 p.
Hancock James F. 1992. Plant Evolution and the Origin of Crop Species.
Prentice Hall, Inc. U.S.A 305 p.
IRRI.1983.Symposium on potential productivity of field crops under different
environments. IRRI, Philippines. 524 p.
Ito, O.; J. O’Toole, and B. Hardy. 1999. Genetic improvement of rice for water-limited environments. IRRI, Philippines. 353 p.
Jain H.K. and M.C. Kharkwal. 2004. Plant Breeding Mendelian to Molecular Aproaches.
Narosa Publishing House, India.797 p.
Kalloo Dr. 1988. Vegetable Breeding Volume I. CRC Press. U.S.A 239 p.
Kalloo G. 1988. Vegetable Breeding Volume III. CRC Press. U.S.A 174 p.
Kalloo G. and B. O. Bergh. 1993. Genetic Improvement of Vegetable Crops.
Pergamon Press Ltd., England. 833 p.
Kempton R.A. and P.N. Fox. 1997. Statistical Methods for Plant Variety Evaluation.
Chapman & Hall, U.S.A. 191 p.
Levitt,J. 1980. Responses of plants to environmental stresses. Volume II: Water,
Radiation,Salt, and Other stresses. 2nd edition. University of Wisconsin, USA. 471 p.
Nguyen, H.T. and A. Blum. 2004. Physiology and biotechnology integration for plant
breeding. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 628 p.
Nilsen, E.T. and D.M. Orcutt. 1996. The physiology of plant under stress : Abiotic stress.
John Wiley & Sons, Inc. USA. 689 p.
Pessarakli, M. 1994. Hanbook of plant and crop physiology. Marcel Dekker,Inc. New York,
USA. 1004 p.
Raper, C.D.Jr.; and P.J. Kramer. 1983. Crop relations to water and temperature stresses in
humid, temperate climates. West view Press, Inc. USA. 373 p.
Rattan Lal Agrawal. Fundamentals of Plant Breeding and Hybrid Seed Production.
Science Publishers, Inc. U.S.A. 387 p.
Reed B.M., F. Engelmann, M.E. Dulloo and J. M.M. Engels. 2004. Technical guidelines for
the management of field and in vitro germplasm collections. IPGRI Handbooks for
Genebanks No. 7. International Plant Genetic Resources Institute, Italy. 106 p.
Sleper D. A. and J. M. Poehlman. 2006. Field Crops 5 th edition Iowa State University Press,
Ames USA. 424 p.
Zamski, E. and A. A.Schaffer. 1996. Photoassimilate Distribution in Plants and Crops:
Source-Sink Relationships. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 905 p.
รายงานประชุมสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
รายงานการสัมมนาทางวิชาการพืชสวนแห่งชาติ
รายงานการสัมมนาทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายงานการสัมมนาทางวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
เอกสารด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช
คำสำคัญ plant breeding, advanced, physiology
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป