วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Industrial Product Materials

1. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของวัสดุผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรม
          2. สามารถจำแนกวัสดุแต่ละประเภทได้
          3. สามารถอธิบายโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ได้
          4. มีสามารถอธิบายคุณสมบัติของวัสดุที่นำมาใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้
                เพื่อให้เนื้อหาในรายวิชาวัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีความสอดคล้องกับสภาพของเทคโนโลยีการผลิตที่ปรับเปลี่ยนไป และเพื่อทำให้สามารถที่มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในส่วนของการปฏิบัติการที่ทำให้เกิดการนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตที่มีประสิทธิภาพต่อไป
 
ศึกษาวัสดุและอุปกรณ์ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คุณสมบัติ ประเภท และการเลือกใช้ วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ รวมถึงกรรมวิธีการผลิต โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
              อาจารย์ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลตามความต้องการ อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อ 1 คาบการสอนบรรยาย แต่ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยการประกาศแจ้งให้นักศึกษาได้ทราบในเว็บไซด์ของคณะ และติดประกาศที่บอร์ดคณะ ฯ
          ให้สัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม

เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ

ซื่อสัตย์สุจริต

มีวินัย ตรงต่อเวลา และ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับ

ความสำคัญ

เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

                        พร้อมทั้งปลูกฝังความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ เช่น นักศึกษารู้หน้าที่ (เข้าเรียนตรงเวลา และครบถ้วนตามเกณฑ์) รู้กาลเทศะ (แต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย เข้าห้องเรียนตรงเวลา แจ้ง และส่งใบลาหากมีกิจธุระจำเป็น หรือเจ็บป่วย รักษามรรยาทในสังคม เคารพสิทธิผู้อื่น) เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (เตรียมพร้อมก่อนเรียน ทราบหัวข้อที่จะเรียน และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ตอบคำถาม อภิปราย)สามารถนำผลการเรียนรู้ไปประกอบวิชาชีพ หรือใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตน และผู้อื่น มีสำนึกไทย สำนึก และภาคภูมิใจในวิชาชีพ รู้จริยธรรมในวิชาชีพ ฯลฯ
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา และการฝึกทักษะปฏิบัติการคิด วิเคราะห์ โดยแสดงลำดับการคิดตามทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานจริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ และฝึกฝนทักษะตามหลักการของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์กับการนำไปใช้งานจริง และใช้สื่อประกอบการคิดคำนวณและฝึกทักษะเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้าน สำหรับเนื้อหาในแต่ละบทเรียน ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา มอบหมายงานการค้นคว้า และฝึกทักษะ เพื่อการนำเสนอ บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม ) ประเมินผลจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัตินำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร
  1. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของวัสดุผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรม
  2. สามารถจำแนกวัสดุแต่ละประเภทได้
  3. สามารถอธิบายโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ได้
  4. มีสามารถอธิบายคุณสมบัติของวัสดุที่นำมาใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้
  5. มีความรู้ความเข้าใจในอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ ข้อพิจารณาในการเลือกใช้วัสดุและ
      อุปกรณ์ในการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อาจารย์ผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย สาธิตตัวอย่างวัสดุประเภทต่างๆ  และการสอนแบบให้ผู้เรียน ให้เป็นไปตามเนื้อหาและจุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานได้จริง โดยกระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสำคัญของการใช้วัสดุต่าง ๆ  และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละเนื้อหาบทเรียน ใช้เทคนิคถ่ายทอดองค์ความรู้ที่หลากหลาย เช่น การสาธิตการวิเคราะห์ การถามตอบต่อยอดความรู้ การใช้สื่อประกอบการสอน อาทิเช่น แบบรูปรายการงาน  ราคาวัสดุควรที่เป็นปัจจุบัน ฯลฯ ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค มีการประเมินคุณภาพชิ้นงาน ที่ได้รับมอบหมาย

การนำเสนอ จากรายงานการศึกษาค้นคว้า และการตอบคำถาม ในชั้นเรียน
ามคิดอย่างมีวิจารณญาณ พิจารณาทั้งเหตุและผล สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา และการฝึกทักษะปฏิบัติการคิด วิเคราะห์ โดยแสดงลำดับการคิดตามทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานจริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ และฝึกฝนทักษะตามหลักการของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์กับการนำไปใช้งานจริง  และใช้สื่อประกอบการคิดและฝึกทักษะเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทย ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้าน สำหรับเนื้อหาในแต่ละบทเรียน ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา มอบหมายงานการค้นคว้า และฝึกทักษะ เพื่อการนำเสนอ บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค มีการประเมินคุณภาพงาน ที่ได้รับมอบหมาย ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม ในชั้นเรียน
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถให้ความช่วยเหลือ ข้อเสนอแนะและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย

 
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา และการฝึกทักษะปฏิบัติการคิด วิเคราะห์ โดยแสดงลำดับการคิดตามทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานจริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ และฝึกฝนทักษะตามหลักการของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์กับการนำไปใช้งานจริง และใช้สื่อประกอบการคิดคำนวณและฝึกทักษะเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้าน สำหรับเนื้อหาในแต่ละบทเรียน ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา มอบหมายงานการค้นคว้า และฝึกทักษะ เพื่อการนำเสนอเป็นงานเดี่ยวและกลุ่มที่ทำร่วมกัน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค มีการประเมินคุณภาพชิ้นงาน ที่ได้รับมอบหมาย สังเกตพฤติกรรมการนำเสนอ การตอบคำถาม ในชั้นเรียน
ทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม มีความสามารถและความมั่นใจในการสรุปผลการศึกษา มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยรูปภาพ

สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในงานทางวิศวกรรมได้
              การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา และการฝึกทักษะปฏิบัติการคิด วิเคราะห์ โดยแสดงลำดับการคิดตามทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานจริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ และฝึกฝนทักษะตามหลักการของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์กับการนำไปใช้งานจริง และใช้สื่อประกอบการคิดคำนวณและฝึกทักษะเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้าน สำหรับเนื้อหาในแต่ละบทเรียน ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา มอบหมายงานการค้นคว้า และฝึกทักษะ เพื่อการนำเสนอ บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค มีการประเมินคุณภาพงาน ที่ได้รับมอบหมาย สังเกตุพฤติกรรมการนำเสนอ การตอบคำถาม ในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID105 วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเก็บคะแนนจากแบบฝึกหัด ครั้งที่ 1 4 10
2 การเก็บคะแนนจากแบบฝึกหัด ครั้งที่ 2 7 10
3 การเก็บคะแนนจากแบบฝึกหัด ครั้งที่ 3 12 10
4 สอบกลางภาค 9 20
5 รายงาน ค้นคว้า นำเสนอ 15 30
6 สอบปลายภาค 17 20
          กวี หวังนิเวศน์กุล. การประมาณราคางานไม้. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ,
                     2547
          พิภพ สุนทรสมัย. งานไม้. กรุงเทพฯ : บริษัทดวงกมลสมัย จำกัด. พิมพ์ครั้งที่ 22, 2541
          วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. เครื่องจักสานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2532.
          วรรณี สหชมโชค. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2539.
          ทวีศักดิ์ อ่วมน้อย. วัสดุและเทคโนโลยีการผลิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543.
          อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2549.
          อุดมศักดิ์ สาริบุตร. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2550
          กวี หวังนิเวศน์กุล. การประมาณราคางานไม้. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ,
                     2547
          พิภพ สุนทรสมัย. งานไม้. กรุงเทพฯ : บริษัทดวงกมลสมัย จำกัด. พิมพ์ครั้งที่ 22, 2541
          วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. เครื่องจักสานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2532.
          วรรณี สหชมโชค. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2539.
          ทวีศักดิ์ อ่วมน้อย. วัสดุและเทคโนโลยีการผลิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543.
          อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2549.
          อุดมศักดิ์ สาริบุตร. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2550
             ดัชนีวัสดุจากกระทรวงพาณิชย์  http://www.price.moc.go.th/Default5.aspx
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนโดยนักศึกษาและแบบประเมินรายวิชา

การเสนอแนะผ่านสื่อสารสนเทศ ( web board ) ของคณะ
ประเมินจากจำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบเรียน และสังเกตพฤติกรรมในการเรียน คำถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้ง 5 ด้าน

แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
       ทำการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษา โดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน และผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆ ต่อไปนี้

ผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน ผลประเมินการสอน และแบบสอบถามความสนใจในชั้นเรียน ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ (Current issue & selected topics)

การวิจัยชั้นเรียน ในประเด็นต่าง ๆ ทั้งในรายวิชานี้ และรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน (วิชาชีพบังคับอื่น ๆ และวิชาชีพเลือก) เช่น ศิลปในการถ่ายทอดความรู้สื่อการสอน การนำความรู้ไปใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ฯลฯ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอน ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่า ผลประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผลประเมินการสอนนั้นน่าเชื่อถือ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ดำเนินการทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนรายวิชาเช่น

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกตพฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา (Cross & Link check) ผู้ร่วมสอนและร่วมรับผิดชอบรายวิชามีส่วนในการประเมินย่อยเช่น การออกข้อสอบร่วม และร่วมประเมินผลการเรียน

 

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมเป็นต้น
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอน ดำเนินการทุกปีการศึกษา อาศัย

กระบวนการในมคอ.1 มคอ.2 และมคอ.3 โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ 1) ผลประเมินการสอน(ข้อ 2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ 3) และการทวนสอบมาตรฐานผลสำฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา (ข้อ 4)
     2.  การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตร คณะ และระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพ ฯ