องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

Introduction to Composition

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและทำความเข้าใจหลักองค์ประกอบศิลปะ
              2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับทัศนะธาตุที่สำคัญในการสร้างงานศิลปะ
              3. สามารถนำหลักองค์ประกอบศิลป์และทัศนะธาตุทางศิลปะมาใช้สร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความสมบูรณ์และความงามทางสุนทรียภาพ
                 เพื่อให้เกิดผลที่ดียิ่งขึ้นต่อการเรียนการสอนและเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจในบริบทของรายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ทัศนธาตุทางศิลปะ ด้วยวัสดุและวิธีการหลากหลาย โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ และการแสดงออกอย่างเหมาะสม
จัดให้คำปรึกษาและพูดคุยเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานตามเนื้อหาวิชาที่เรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายบุคคลที่ต้องการคำปรึกษา)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยในการทำงาน ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
           - บรรยายโดยใช้สื่อการสอน เช่น เครื่องฉายข้ามศีรษะ(Projecter) และมีตัวอย่างผลงานศิลปะ
           - กำหนดหัวข้อในแต่ละช่วงสัปดาห์ของการเรียนเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ โดยที่หัวข้อนั้นๆจะต้องมีการใช้หลักองค์ประกอบศิลป์ประกอบ
           - กำหนดให้นักศึกษานำผลงานการสร้างสรรค์ของตนมาแลกเปลี่ยนทัศนคติและเรียนรู้ผลงานของนักศึกษาร่วมชั้นเรียน เพื่อฝึกรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และนำไปปรับและพัฒนาต่อไป
                1. พฤติกรรมการปฏิบัติตนในการเข้าเรียน
                2. การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
                3. ประเมินความสามารถจากการสื่อสารเพื่อนำเสนอความคิดที่มีในการสร้างสรรค์ผลงาน
           ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางศิลปะและทักษะในการสร้างสรรค์องค์ประกอบศิลป์
            อธิบายถึงการนำองค์ประกอบศิลป์มาใช้ในผลงานพร้อมทั้งกำหนดหัวข้อที่สอดคล้องกับทฤษฎีองค์ประกอบศิลป์ เพื่อให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะโดยการนำพื้นฐานองค์ประกอบศิลป์มาประยุกต์ใช้ และมีการแนะแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานโดยมีตัวอย่างจากผลงานศิลปะของศิลปินที่มีความสมบูรณ์และสอดคล้องกับหัวข้อนั้นๆ
ประเมินดูจากผลงานของนักศึกษาว่ามีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานที่ดีหรือไม่ อย่างไร มีการใช้องค์ประกอบศิลป์ในผลงานได้สมบูรณ์เป็นไปตามเนื้อหาและแนวความคิด
พัฒนาความสามารถในการใช้ทักษะทางองค์ประกอบศิลป์ให้เกิดความชำนาญ และสามารถ     นำไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะลักษณะอื่นๆได้เป็นอย่างดี
- บรรยายและอธิบายถึงเนื้อหา ยกตัวอย่างผลงานศิลปะของศิลปินต่างๆ
            - ฝึกปฏิบัติจากกิจกรรมหรือการกำหนดหัวข้อในชั้นเรียน
            - กำหนดหัวข้อเพื่อให้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะรูปแบบต่างๆ
            - การนำเสนอผลงานเพื่อแสดงแนวความคิดที่มีต่อตัวผลงาน
กำหนดหัวข้อสอบปฏิบัติกลางภาค ปลายภาคเรียนมีการนำเสนองานสรุปชิ้นสุดท้ายและมีการนำเสนอเพื่อดูถึงการพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์ทางองค์ประกอบศิลป์
              - พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                - พัฒนาทักษะทางความร่วมมือที่ดีในการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
              - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
              - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานและการสร้างสรรค์ผลงานของผู้เรียนแต่ละคน
              - มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม โดยมีการร่วมแสดงแนวความคิดของแต่ละคนออกมาในงาน
              - การนำเสนอผลงานแก่ผู้สอนและผู้เรียนด้วยกัน
- ผลงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                - ผลงานจากการศึกษาด้วยตนเอง
                  - พัฒนาทักษะในการสื่อสาร โดยการนำเสนอผลงานการสร้างสรรค์ในชั้นเรียน
               - พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล เช่น ตัวอย่างผลงานศิลปะที่น่าสนใจ ทางอินเตอร์เน็ต
              - มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์
                  -  นำเสนอโดยใช้รูปแบบ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
               - การนำเสนอผลงานโดยการใช้สื่อเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วม
                 - การแสดงแนวความคิดที่มีในผลงานศิลปะของตนเอง และการร่วมแสดงความคิดเห็นในการอภิปรายผลงานศิลปะของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFACC404 องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประเมินจากผลงานการสร้างสรรค์แต่ละชิ้น / โดยตัวผู้สอนและผู้เรียนทั้งหมด 3 , 5 , 8 ,11 ,14 ,15 50
2 สอบปฏิบัติกลางภาค 12 10
3 การเข้าชั้นเรียน ตลอดเทอม 5
4 การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดเทอม 5
5 งานสรุปชิ้นสุดท้าย 16 30
     ชลูด นิ่มเสมอ (2531). องค์ประกอบศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช
    โชดก   เก่งเขตรกิจและคณะ . ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
              วัฒนาพานิช ,2548.
    ประเสริฐ  ศรีรัตนา . เทคนิคการสร้างภาพ .พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์,2530.
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิ รัตนสิน . องค์ประกอบศิลป์ .พิมพ์ครั้งที่2. สงขลา: ฝ่ายเทคโนโลยีทาง
              การศึกษาสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2542.
    พาสนา   ตัณฑลักษณ์ . หลักศิลปะและการออกแบบ.กรุงเทพฯ: เทพพิทักษ์การพิมพ์, 2522.
    ทวีเดช   จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี .กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์,2547.
     ชลูด นิ่มเสมอ (2531). องค์ประกอบศิลปะ, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช
    โชดก   เก่งเขตรกิจและคณะ . ทัศนศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
              วัฒนาพานิช ,2548.
    ประเสริฐ  ศรีรัตนา . เทคนิคการสร้างภาพ .พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์,2530.
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิ รัตนสิน . องค์ประกอบศิลป์ .พิมพ์ครั้งที่2. สงขลา: ฝ่ายเทคโนโลยีทาง
              การศึกษาสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2542.
    พาสนา   ตัณฑลักษณ์ . หลักศิลปะและการออกแบบ.กรุงเทพฯ: เทพพิทักษ์การพิมพ์, 2522.
    ทวีเดช   จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี .กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์,2547.
    มิชาเอล ไลลัค (2552). แลนด์อาร์ต, กรุงเทพฯ : TASCHEN
- การสนทนาและการสอบถามระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
   - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     - ผลงานจากการสอบ และผลงานตามที่ได้กำหนดหัวข้อ
- การประชุมในโปรแกรมวิชา เพื่อร่วมกันหาทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- มีคณะกรรมการในโปรแกรมวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา (คะแนน / เกรด)
   - ปรับปรุงรายวิชาทุกๆ 4 ปี