จุลชีววิทยาอาหาร

Food Microbiology

1.1  อธิบายความหมายและความสำคัญของจุลชีววิทยาอาหาร
1.2  อธิบายชนิดและการเจริญของจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และเป็นสาเหตุให้อาหารเสื่อมเสียหรือเป็นพิษ
1.3  มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานและการตรวจประเมินคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์
1.4  มีทักษะการปฏิบัติในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ในอาหาร
1.5  นำความรู้ ทักษะทางจุลชีววิทยาอาหารที่สำคัญไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิตได้
2.1  เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ
2.2  เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน และบูรณาการการจัดการเรียนการสอนร่วมกับงานวิจัย ได้แก่
- การพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำส้มซูชิ (ชุดโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Innovative house ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) (งบประมาณ TRF+iTAP ประจำปี 2560)
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงปักษ์ใต้แบบก้อนด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟ (ชุดโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Innovative house ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) (งบประมาณ TRF+iTAP ประจำปี 2559)
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของจุลินทรีย์ในอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารและผลิตภัณฑ์เกิดการเสื่อมเสีย จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคและการเกิดอาหารเป็นพิษ ผลของกรรมวิธีการถนอมอาหารที่มีผลต่อการรอดชีวิตจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ที่ใช้เป็นดัชนีในอาหารมาตรฐานและวิธีการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ในอาหาร
Significance of microorganisms in food; factors affecting microbial growth in food; microorganisms in food product; microorganisms causing food deterioration; pathogenic microorganisms and food intoxication; effect of food preservation process on microorganism survival; microorganisms used for food index; standard and analytical method for microorganisms in food.
3.1  วันศุกร์  เวลา 16.00–17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร โทร.0-5529-8438 ต่อ 1121
3.2  E-mail.  unnop_tas@rmutl.ac.th  เวลา 20.00–21.00 น. วันเสาร์และวันอาทิตย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ธีรพร กงบังเกิด.  2546.  จุลชีววิทยาทางอาหาร.  ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
สุมณฑา วัฒนสินธุ์.  2545.  จุลชีววิทยาทางอาหาร.  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร
สุวิมล กีรติพิบูล.  2545.  การควบคุมจุลินทรีย์ในโรงงานอุตสาหกรรม เล่ม 2.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพมหานคร.
อรรณพ ทัศนอุดม.  2559.  เอกสารประกอบการสอน จุลชีววิทยาอาหาร.  สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก.
อัจฉรา แสนคม และ อรรณพ ทัศนอุดม.  2562.  การประเมินการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและความปลอดภัยของข้าวซูชิพร้อมบริโภคที่ผลิตจากน้ำส้มซูชิสูตรซากุระคอลลาเจน.  วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 50(1พิเศษ): 518–525.
อัจฉรา แสนคม  หมุดตอเล็บ หนิสอ  อรรณพ ทัศนอุดม และวราศรี แสงกระจ่าง.  2562.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงปักษ์ใต้แบบก้อนด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟ.  วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 50(1พิเศษ): 489–495.
Jay, J.M.  2000.  Modern Food Microbiology.  6th ed., Aspen Publishers, Inc., Gaithersburg, Maryland, USA.
Ray, B. and A. Bhunia.  2000.  Fundamental Food Microbiology.  4th ed., CRC Press, London, New York, USA.
อัญชลี ตัณฑ์ศุภศิริ.  2548. คลอสตริเดียมเปอร์ฟริงเจนส์ที่สำคัญทางการแพทย์และสาธารณสุขและการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร.
Cliver, D.O.  1990  Modern Foodborne Diseases.  6th ed., Academic Press, Inc., San Diego, California, USA.
Downes, F.P. and K.A. Ito.  2001.  Compendium of Methods for the Microbiological Examination of Foods.  4thed.  American Public Health Association, Washington D.C.
Rhodehamel, E.J. and S.M. Harmon.  2001.  Clostridium perfringens: FDA's Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online.  Available Source: http://www.fda.gov/Food/ ScienceResearch/LaboratoryMethods/BacteriologicalAnalyticalManualBAM/UCM070878, January 10, 2014.
- สำนักระบาดวิทยา กองควบคุมโรค                                     http://203.157.15.110/boe/home.php
- สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ                   http://www.acfs.go.th/index.php
- the Rapid Alert System for Food and Feed       http://ec.europa.eu/food/safety/rasff/index_en.htm
- U.S. Food and Drug Administration                     http://www.fda.gov
- Journal of Food Safety        http://onlinelibrary.wiley.com/journal/10.1111/(ISSN)1745-4565
- Food Microbiology             http://www.journals.elsevier.com/food-microbiology/
- Food Control                    http://www.journals.elsevier.com/food-control/
- International Journal of Food Microbiology           http://www.journals.elsevier.com/ international-journal-of-food-microbiology/
- www.scopus.com/
- www.sciencedirect.com
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3  แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3.1  นำผลการประเมินรายวิชาและผลการประเมินผู้สอนในปีการศึกษาที่ผ่านมา  มาใช้ในการปรับปรุงและกำหนดกิจกรรม และแผนการสอน
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4.1  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2  คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1
5.2  เพิ่มจำนวนผู้สอนร่วมในบางหน่วยเรียน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเนื้อหาวิชา และการนำไปประยุกต์ใช้ที่หลากหลายยิ่งขึ้น
โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป