สรีรวิทยาประยุกต์เพื่อการผลิตพืช

Applied Physiology for Crop Production

1. รู้เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างกระบวนการสรีรวิทยาการผลิตพืช ที่มีต่อการพัฒนาการเจริญเติบโตและการสร้างผลผลิตของพืชที่ปลูกในแปลงได้
2. เข้าใจและอธิบายศักยภาพการสร้างปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืชภายใต้เงื่อนไขสภาพพื้นที่ปลูกที่ต่างกันได้
3. ใช้ข้อมูลสรีรวิทยาเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืชตามศักยภาพพื้นที่ปลูกได้
4. วิเคราะห์และคาดทำนายการเจริญเติบโตและผลผลิตพืชภายใต้สภาพการจัดการปลูกที่ต่างกันได้
       มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ และผลกระทบของขบวนการทางสรีรวิทยาของพืช ที่มีต่อการพัฒนาการเจริญเติบโตและการสร้างผลผลิตของพืช การประยุกต์ใช้ข้อมูลทางสรีรวิทยาพืชด้านต่างๆ การวิเคราะห์ การคาดทำนาย และการใช้ข้อมูลสรีรวิทยาการผลิตพืชเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การวางแผนและจัดการปลูกภายใต้สภาวะไม่เหมาะสม และการตัดสินใจปลูกพืชจากข้อมูลการวิจัย
        
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการสรีรวิทยาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต การสร้างผลผลิต ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตพืช กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของพืชในสภาพแวดล้อมทางชีวนะและกายภาพที่ไม่เหมาะสม (biotic and abiotic stress) สาระสำคัญทางสรีรวิทยาการเจริญเติบโตและการสร้างผลผลิตพืชเฉพาะทาง (พืชอาหาร สุขภาพ พลังงานและอุตสาหกรรม)   การวิเคราะห์ การคาดทำนาย และการใช้ข้อมูลสรีรวิทยาการผลิตพืชเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับแปลงผลิต การวางแผนและจัดการปลูกภายใต้สภาวะเครียด และการตัดสินใจปลูกพืช
Relationships among plant physiological processes involving growth, productivity, quantity and quality of yield.  Crop physiological changes under biotic and abiotic stress. Contexts on physiological growth and productivity of specific crops (food crop, health crops, energy and industrial crops). Analysis, estimation and utilization of physiological data for crop production to explain any changes occurred in the field. Planning and planting management under stress conditions and decision for planting
1.1 จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเข้าชั้นเรียน
2. การนำเสนองานและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
 
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
 
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. ประเมินจากการการนำเสนองาน  ตอบปัญหา และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  สามารถแก้ไขปัญหาทาง
วิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
˜4.3 สามารถประเมินตนเองได้
รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
˜4.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.5  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบบรรยาย
1.ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ  การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ  มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCPT301 สรีรวิทยาประยุกต์เพื่อการผลิตพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6,1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 การมอบหมายงานครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การมอบหมายงานครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 10% 20% 10% 20%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8, 15 และ 16 5%
สมบุญ  เตชะทัญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤษศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพ ฯ.  203 น.
ดนัย  บุญยเกียรติ. 2537. สรีรวิทยาของพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 210 น.
Taiz, L and E. Zeiger. 2006. Plant Physiology. Fourth edition. Springer-Verlag Berlin, Heidenberg. 770 p.
คณาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์. 2541. ปฏิบัติการพฤกษศาสตร์ทั่วไป. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จักรี เส้นทอง. . 2540. พลวัตผลผลิตพืช.  โรงพิมพ์มิ่งเมือง เชียงใหม่. 276 น.
จินดา  ศรศรีวิชัย. 2524. สรีรวิทยาภาคการเจริญเติบโต. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 280 น.
เฉลิมพล  แซมเพชร. 2535. สรีรวิทยาการผลิตพืชไร่. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 188 น.
ชวนพิศ  แดงสวัสดิ์. 2544. สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology). พิมพ์ครั้งที่ 2 . ภาควิชาชีววิทยา สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์. 380 น.
ดนัย  บุญยเกียรติ. 2537. สรีรวิทยาของพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 210 น.
นพดล  จรัสสัมฤทธิ์. 2536. ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. สหมิตรออฟเซทกรุงเทพฯ.  124 น.
นิตย์ ศกุนรักษ์.2541. สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology). พิมพ์ครั้งที่ 2 . ภาควิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่.237 น.
พีรเดช  ทองอำไพ. 2529.  ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์: แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ. 196 น.
ลิลลี่ กาวีต๊ะ.2546. การเปลี่ยนแปลงทางสันฐานและพัฒนาการของพืช. ภาควิชาพฤษศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.320 น.
วันเพ็ญ  ภูติจันทร์.2534. พฤกษศาสตร์. ภาควิชาชีววิทยา สหวิทยาลัยอีสานใต้. อุบลราชธานี.264 น.
ศุภางค์  ชัยรักษ์. ไม่ระบุปีที่พิมพ์.เอกสารประกอบการสอนวิชาสรีรวิทยาพืชประยุกต์. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สมบุญ  เตชะทัญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤษศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพ ฯ.  203 น.
สัมพันธ์  คัมภิรานนท์. 2529. สรีรวิทยาของพืช. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพ ฯ.  303 น.
สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2537. สรีรวิทยาไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น. 437.
สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์.2544. สรีรวิทยาการพัฒนาการพืช. หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น. 665 น.
สายยัณห์ สดุดี.2537. สภาวะขาดน้ำในการผลิตพืช. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. สงขลา. 202 น.
สาวิตร มีจุ้ย. 2540. เอกสารประกอบการสอนวิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology). สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ลำปาง.134 น.
สุนทรี  ยิ่งชัชวาลย์. 2535.ชลศาสตร์ในระบบดิน-พืช. ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ กำแพงแสน. นครปฐม. 200 น.
Beadle. C.L. 1993. Growth Analysis. pp. 36-45. In Photosynthesis and Production in a Changing Environment : A Field and Laboratory Manual. Chapmane & Hall. London.464 p.
Bewley, J.D. and M. Black. 1994. Seeds: Physiology of Development and Germination. Plenum Press, New York445p.
CCA Biochemical Co., Inc. 1998. User Guide of Plant Growth Regulator. CCA Biochemical Co., Inc., Los Angeles. 243 p.
Davies, P.J. 1995. Plant Hormones Physiology, Biochemistry and Molecular Biology. Kluwer Academic Publishers. London. 833 p.
Davies, P.J. 2004. A. Introduction: the plant hormones: their nature, occurrence and functions. pp. 1-15. In P. J. Davies (Edited), Plant Hormones Biosynthesis, Signal Transduction, Action!. Kluwer Academic Publishers. New York. 750 p.
Dawson, P. 1994. Handbook of horticultural students. RPM Reprographics Ltd, Chichester, West Sussex, Uk.
Fitter, A. H. and R. K. M. Hay. 1987. Environmental Physiology of Plant. 2rd Edition. Academic Press. London.423 p.
Halevy, A.H. (ed.) 1986 Handbook of Flowering, Vol. 5. CRC Press, Boca Raton, Florida, USA
Kozlowski, T.T. and Pallardy, G.S. 1997.  Growth  Control and Woody Plants. Academic  Press. San  Diego. 641 p.
Luttge, U. 1997. physiology Ecology of Tropical Plant. Springer-Verlag, Berlin. 384 p.
Smith,J.A.C. and Griffiths,H. 1993. Water Deficits: Plant responses from cell to community. BIOS Scientific Publishers Limited. UK. 345 p.
      รายงานวิจัยเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช
     บทความเกี่ยวกับสรีรวิทยาการผลิตพืช จากเวบไซต์ต่าง ๆ  และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป