สัมมนาทางโลจิสติกส์
Seminar in Logistics Management
1. เข้าใจวิธีการและหลักการจัดสัมมนา มีทักษะในการจัดสัมมนา
2. สัมมนากรณีศึกษาและปัญหาสำคัญ ๆ ทางด้านโลจิสติกส์ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน
3. บูรณาการทฤษฎี ความรู้ และประสบการณ์ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ที่ได้จากการศึกษา
4. ประยุกต์ใช้กรณีศึกษาหรือสถานการณ์จริง เพื่อหาแนวทางแก้ไขอย่างเป็นระบบ
2. สัมมนากรณีศึกษาและปัญหาสำคัญ ๆ ทางด้านโลจิสติกส์ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน
3. บูรณาการทฤษฎี ความรู้ และประสบการณ์ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ที่ได้จากการศึกษา
4. ประยุกต์ใช้กรณีศึกษาหรือสถานการณ์จริง เพื่อหาแนวทางแก้ไขอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการวิชาการความรู้ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์กับข้อเท็จจริง ที่เกิดขึ้น และสามารถฝึกทักษะในการจัดสัมมนาได้
ศึกษาและสัมมนาปัญหาสำคัญ ๆ ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ เน้นทางด้านโลจิสติกส์ โดยบูรณาการทฤษฎี ความรู้และประสบการณ์ที่ได้ศึกษามา เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกีบสภาพปัญหาต่าง ๆ ของการจัดการเกี่ยวกับโลจิสติกส์ การศึกษาหัวข้อต่าง ๆ ที่น่าสนใจเป็นพิเศษ นอกเหนือจากเนื้อหาที่จัดไว้ โดยมุ่งประโยชน์ที่ได้รับจากการเชิญผู้ชำนาญการพิเศษ ในหัวข้อนั้น ๆ เข้าร่วมสอนในการสัมมนาในแต่ละหัวข้อที่น่าสนใจเหล่านั้น ตลอดจนฝึกปฏิบัติทักษะการจัดสัมมนาวิชาการ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน Social network เช่น ตั้งกลุ่ม Facebook, Lineรายวิชาสัมมนาทางโลจิสติกส์ เพื่อให้คำปรึกษา สั่งงาน และส่งงาน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ภาวะผู้นำ และสร้างจริยธรรม ในการดำเนินธุรกิจในอนาคต โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
3.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการวิเคราะห์แนวโน้มธุรกิจลการลงทุนบุคคลองค์กรและสังคม
7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
3.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการวิเคราะห์แนวโน้มธุรกิจลการลงทุนบุคคลองค์กรและสังคม
7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับ เช่น การใช้ Wed-board การขายของผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2.อภิปรายกลุ่ม
3.กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
2.อภิปรายกลุ่ม
3.กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
นักศึกษาจะได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของในด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ความสำคัญจำเป็นของการสื่อการในองค์การธุรกิจ การวางแผนการฝึกอบรมสำหรับองค์การธุรกิจ การกำหนดเป้าหมายการติดต่อสื่อสาร การจัดกิจกรรมและการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินและติดตามผล
นักศึกษาจะได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของในด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ความสำคัญจำเป็นของการสื่อการในองค์การธุรกิจ การวางแผนการฝึกอบรมสำหรับองค์การธุรกิจ การกำหนดเป้าหมายการติดต่อสื่อสาร การจัดกิจกรรมและการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินและติดตามผล
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารโดยใช้โครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาจะเกิดทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบในด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และความสำคัญจำเป็นของการติดต่อสื่อสารในองค์การธุรกิจ การวางแผนการติดต่อสื่อสารสำหรับองค์การธุรกิจ การกำหนดเป้าหมายการติดต่อสื่อสาร การจัดกิจกรรมและเทคนิคการติดต่อสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินและติดตามผล
นักศึกษาจะเกิดทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบในด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และความสำคัญจำเป็นของการติดต่อสื่อสารในองค์การธุรกิจ การวางแผนการติดต่อสื่อสารสำหรับองค์การธุรกิจ การกำหนดเป้าหมายการติดต่อสื่อสาร การจัดกิจกรรมและเทคนิคการติดต่อสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินและติดตามผล
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาหาข้อมูลข่าวสาร ในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่าง การเรียนการสอน และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่การเกี่ยวข้องกับพฤติกรรม การติดต่อสื่อสารภายในองค์การ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดต่อสื่อสาร
3.3.2 วัดผลจากการประเมินการเรียนและการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินการเรียนและการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าข้อมูลข่าวสารและนำมาสื่อสารกันภายในชั้นเรียนเพื่อทำการวิเคราะห์ในระหว่างชั้นเรียน
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog, e-mail, facebook
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog, e-mail, facebook
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | BBABA409 | สัมมนาทางโลจิสติกส์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | บทที่ 1-8, การปฏิบัติข้อ 1.2 ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-8 และ 10-16 | การจัดโครงการสัมมนาทางวิชาการ | 7 | 30% |
2 | การปฏิบัติข้อ 2.2 ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-8 และ 10-16 | การจัดโครงการสัมมนาทางวิชาการในชั้นเรียน ในฐานะที่นักศึกษาเป็นวิทยากรทางด้านการจัดการกับกรณีศึกษาที่นำมาศึกษาและวิเคราะห์ | 11-16 | 40% |
3 | การปฏิบัติข้อ 2.1 ตั้งแต่สัปดาห์ 1-8 และ 10 | การสอบปลายภาคการศึกษา | 17 | 20% |
4 | ทฤษฎีและปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 1-17 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- ไพพรรณ เกียรติโชคชัย. การจัดการสัมมนาสู่ความเป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 4 .กรุงเทพมหานคร : การศึกษา , 2548.
- เกษกานดา สุภาพจน์.การจัดสัมมนา.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร:ศูนย์ส่งเสิรมวิชาการ,2549.
- เกษกานดา สุภาพจน์.การจัดสัมมนา.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร:ศูนย์ส่งเสิรมวิชาการ,2549.
ไม่มี
-เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาสัมมนาการจัดการ
-เอกสารสรุปเล่มโครงการในการจัดสัมมนาทางวิชาการ
-เอกสารสรุปเล่มการจัดสัมมนาทางวิชาการในการนำองค์ความรู้ทางด้านโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ ในองค์การทางธุรกิจ
-เอกสารสรุปเล่มโครงการในการจัดสัมมนาทางวิชาการ
-เอกสารสรุปเล่มการจัดสัมมนาทางวิชาการในการนำองค์ความรู้ทางด้านโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ ในองค์การทางธุรกิจ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา โดยทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย และรวมถึงการให้คะแนนพฤติกรรมระหว่างการเข้าเรียนและการร่วมกิจกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดย ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4